Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

2 ยานโรเวอร์ญี่ปุ่นลงจอดและเริ่มสำรวจดาวเคราะห์น้อย  

2 ยานโรเวอร์ญี่ปุ่นลงจอดพร้อมลุยสำรวจดาวเคราะห์น้อย หลังปล่อยตัวออกจากยานอวกาศ ตั้งเป้าฉายปมกำเนิดระบบสุริยะ โดยยานจะนำตัวอย่างกลับมายังโลกในปี 2020 ยานโรเวอร์รูปร่างกลมเหมือนหุ่นยนต์ดูดฝุ่น 2 ลำขององค์การการบินสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (Japan Aerospace Exploration Agency) หรือแจกซา (JAXA) ลงจอดบนดาวเคราะห์น้อยริวกู (Ryugu) เรียบร้อย หลังถูกปล่อยออกจากยานฮายาบูซะ 2 (Hayabusa2) ยานโรเวอร์มิเนอร์วา-2 (Minerva-II) ได้ลงจอดบนดาวเคราะห์น้อยรูปไข่เมื่อ 21 ก.ย.2018 โดยแจกซาแถลงว่า ยานโรเวอร์ทั้งสองลำปฏิบัติการได้ปกติ และเริ่มต้นสำรวจพื้นผิวดาวเคราะห์น้อยริวกุแล้ว รายงานยังระบุด้วยว่า ยานโรเวอร์ทั้งสองอาศัยข้อดีของดาวเคราะห์น้อยที่มีแรงโน้มถ่วงต่ำ เพื่อกระโดดไปรอบๆ พื้นผิวดาวเคราะห์น้อย โดยจะกระโดดได้สูง 15 เมตร และจะค้างอยู่กลางอากาศนาน 15 นาที เพื่อสำรวจลักษณะทางกายภาพของดาวเคราะห์น้อย ด้าน ยูอิชิ สึดะ (Yuichi Tsuda) ผู้จัดการโครงการของแจกซากล่าวว่า เขารู้สึกภูมิใจที่พวกเขาได้สร้างวิธีใหม่ๆ ในการสำรวจอวกาศบนวัตถุอวกาศขนาดเล็ก ทั้งนี้ เมื่อปี 2005 แจกซา ล้มเหลวในความพยายามปล่อยยานโรเวอร์ลงจอดบนดาวเคราะห์น้อย ซึ่งเป็นความพยายามในปฏิบัติการเดียวกันนี้ เดือนหน้ายานฮายาบูซะ 2 จะปล่อย “อิมแพคเตอร์” (impactor) ที่จะระเบิดเหนือดาวเคราะห์น้อยริวกุ และยิงวัตถุทองแดงหนัก 2 กิโลกรัม ให้ระเบิดสร้างหลุมอุกกาบาตบนพื้นผิวดาวเคราะห์น้อย หลุมอุกกาบาตดังกล่าวจะให้ “ตัวอย่างสด” ที่เผยร่องรอยลมและการแผ่รังสีอายุพันปี โดยคาดหวังว่าจะได้คำตอบเรื่องคำถามพื้นฐานบางประการเกี่ยวกับชีวิตและเอกภพ รวมถึงไขคำตอบว่าธาตุใดจากอวกาศที่ก่อให้เกิดสิ่งมีชีวิตบนโลก ตัวอย่างจากหลุมอุกกาบาตจะถูกเก็บโดยหัววัดจากยานลงจอดของฝรั่งเศส-เยอรมนีชื่อยานมาสคอต (Mobile Asteroid Surface Scout: MASCOT) ยานฮายาบุซะ2 มีขนาดประมาณตู้เย็นหลังใหญ่ๆ และมีแผงเซลล์แสงอาทิตย์ และเป็นทายาทของยานสำรวจดาวเคราะห์น้อยลำแรกของแจกซาคือยานฮายาบุซะ (Hayabusa) ก่อนหน้านี้เมื่อปี 2010 ยานฮายาบุซะได้เดินทางกลับจากดาวเคราะห์น้อยรูปร่างเหมือนมันฝรั่ง ที่มีขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์น้อยริวกุ พร้อมทั้งนำตัวอย่างอันประเมินค่าไม่ได้กลับมายังโลกด้วย หลังการเดินทางท่องอวกาศนาน 7 ปี ซึ่งนับเป็นการฉลองความสำเร็จทางวิทยาศาสตร์ ส่วนยานฮายาบุซะ2 นั้น ถูกส่งจากโลกออกไปเมื่อเดือน ธ.ค.2014 และจะกลับโลกมาพร้อมตัวอย่างดาวเคราะห์น่อยในปี 2020 Manager online 24.09.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร