Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

รู้จักงานพัฒนา “เอ็นไซม์” ผลงานระดับโนเบล  

รางวัลโนเบลเคมีปี 2018 มอบให้แก่ 3 นักเคมีที่มีผลงานปฏิวัติการผลิตเอ็นไซม์ ซึ่งประยุกต์ใช้งานได้หลากหลายตั้งแต่เชื้อเพลิงชีวภาพไปจนถึงยารักษาโรค มาทำงานรู้จักงานของพวกเขากัน ราชบัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์สวีเดน (Royal Swedish Academy of Sciences) ประกาศผลรางวัลโนเบล สาขาเคมี ประจำปี 2018 เมื่อวันที่ 3 ต.ค.61 ให้แก่ ฟรานซ์ อาโนลด์ (Frances Arnold) จอร์จ สมิธ (George Smith) และ เกรกอรี วินเทอร์ (Gregory Winter) จากผลงานในการประยุกต์ใช้หลักการวิวัฒนาการเพื่อพัฒนาเอ็นไซม์ที่ใช้งานในทุกสิ่ง ตั้งแต่เชื้อเพลิงชีวมวลจนถึงยารักษาโรคที่เข้าถึงเป้าหมายได้ดีขึ้น อาโนลด์ จากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนียในพาสาดีนา(California Institute of Technology, Pasadena) สหรัฐฯ เป็นผู้หญิงคนที่ 5 ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี เธอได้รับรางวัลจากการใช้หลักการวิวัฒนาการเพื่อพัฒนาเอ็นไซม์ใหม่ ที่เป็นสารเคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เอเอฟพีรายงานว่าในตอนแรกเธอพยายามบังคับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามที่ต้องการด้วยวิธีการแบบเดิมๆ แต่การค้นพบของเธอเกิดขึ้นเมื่อเธอยอมให้ความกดดันทางวิวัฒนาการ (evolutionary forces) อย่างการคัดเลือกตามธรรมชาติหรือความบังเอิญ เป็นสิ่งที่ควบคุมจัดการพัฒนาการของเอ็นไซม์ ขณะเดียวกันก็นักวิจัยยังคงควบคุมการเกิดเอ็นไซม์อยู่ห่างๆ วิธีการดังกล่าวเป็นก้าวแรกที่นำหลักการวิวัฒนาการมาใช้ในงานเคมีด้านนี้ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับรากฐานที่นำไปสู่การสังเคราะห์สารประกอบทางเคมีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตัวยาใหม่ๆ และเชื้อเพลิงที่หมุนเวียนได้มากขึ้น ส่วนนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีอีก2 คน คือ จอร์จ สมิธ จากมหาวิทยาลัยมิสซูรี (University of Missouri) ในโคลัมเบีย สหรัฐฯ และ เกรกอรี วินเทอร์ จากห้องปฏิบัติการชีววิทยาโมเลกุลเอ็มอาร์ซี (MRC Laboratory of Molecular Biology) ในเคมบริดจ์ อังกฤษ ก็ใช้หลักการพื้นฐานทางด้านวิวัฒนาการในงานวิจัยของพวกเขาเชนเดียวกัน สมิธและวินเทอร์ ให้ความสนใจในไวรัสขนาดเล็กที่ทำให้แบคทีเรียเป็นโรค ซึ่งเรียกว่า “แบคทีริโอเฟจ” (bacteriophages) หรือเรียกสั้นๆ ว่า “เฟจ” (phages) โดยได้ใช้ไวรัสที่รุกรานนี้ประดิษฐ์วิธีการอันสวยงามที่เรียกว่า “เฟจดิสเพลย์” (phage display) ซึ่งเฟจที่รุกรานนี้จะกระตุ้นให้แอนติบอดีหรือภูมิคุ้มกันทำงานเหมือน “จรวดมิสไซล์ล็อคเป้า” จากนั้นวินเทอร์ได้ประยุกต์ใช้การวิวัฒนาการโดยตรงเพื่อพัฒนาตัวยาที่สร้างขึ้นจากภูมิคุ้มกันของมนุษย์ทั้งหมดเป็นรายแรกของโลก โดยเทคนิคดังกล่าวทำให้เกิดการพัฒนายารักษาที่หลากหลาย ซึ่งสามารถพุ่งเป้าไปยังเซลล์มมะเร็งได้อย่างแม่นยำ รวมถึงใช้รักษาโรคข้อต่ออักเสบ หรือสารพิษที่เป็นสาเหตุของแอนแทรกซ์ รวมถึงชะลอการเกิดโรคผิวหนังลูปัส หรือแม้แต่ใช้ในกรณีรักษามะเร็งที่แพร่กระจายได้มาก ตอนนี้มีแอนติบอดีหรือภูมิคุ้มกันที่ใช้ทดลองในระดับคลีนิคแล้ว รวมถึงการใช้ต่อสู้กับโรคอัลไซเมอร์ด้วย ซึ่ง อลัน บอยด์ (Alan Boyd) คณบดีเภสัชศาสตร์ของราชวิทยาลัยการแพทย์อังกฤษ (Royal College of Physicians) กล่าวเชิดชูงานวิจัยที่ได้รับรางวัลโนเบลนี้ว่า การใช้แอนติบอดีได้ยกระดับกรอบวิธีการที่เราใช้ในการบำบัดรักษาโรคต่างๆ จำนวนมาก ที่จะสร้างประโยชน์มหาศาลแก่ผู้ป่วยทั่วโลก Manager online 04.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร