Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นาโนเทคเดินหน้าสร้างเครือข่ายนาโนเทคโนโลยีระยะที่3  

นาโนเทค-สวทช. จับมือ 7 มหาวิทยาลัย เดินหน้าเครือข่ายวิจัยนาโนเทคโลยี 3 ปีวางโจทย์ชัด เพื่อได้ผลงานนำใช้จริง ตอบโจทย์ไทยแลนด์ 4.0 ดร.วรรณี ฉินศิริกุล ผู้อำนวยการศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เปฺิดเผยว่า นาโนเทค ตระหนักในความสำคัญของการร่วมมือกับกลุ่มวิจัยที่ทำงานด้านนาโนเทคโนโลยี จึงได้จัดทำโครงการศูนย์เครือข่ายการวิจัยและพัฒนาด้านนาโนเทคโนโลยี (Research Network of Nanotechnology: RNN) ตั้งแต่ปี 2549 และล่าสุดได้มีการลงนาม ระหว่างศูนย์นาโนเทค กับ 11 ศูนย์เครือข่ายฯ จาก 7 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันวิทยสิริเมธี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ในการดำเนินงาน ศูนย์เครือข่ายการวิจัยและพัฒนาด้านนาโนเทคโนโลยี ในระยะที่ 3 เพื่อมุ่งเน้นให้เกิดเครือข่ายวิจัยเฉพาะทางที่ทำงานวิจัยร่วมกันกับ นาโนเทค-สวทช. เพื่อสร้างฐานเทคโนโลยีและต่อยอดผลงานไปสู่การใช้ประโยชน์ และเกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทั้งนี้การดำเนินงานเป็นไปตามหัวข้อวิจัยในประเด็นมุ่งเน้นของศูนย์นาโนเทค ประกอบด้วย 5 ขอบข่ายวิจัย ได้แก่ นาโนเทคโนโลยีเพื่อการแพทย์และสาธารณสุข นาโนเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม นาโนเทคโนโลยีเพื่ออาหารและการเกษตร นาโนเทคโนโลยีเพื่อมาตรวิทยาและการวิเคราะห์ทดสอบ และนาโนเทคโนโลยีเพื่อพลังงาน “ผลงานตัวอย่างในแต่ละด้านที่จะร่วมกันพัฒนาใน 3 ปีนี้ (2561-2564) เช่น การพัฒนาชุดตรวจติดตามทางการแพทย์ ระบบบำบัดน้ำเสียในอุตสาหกรรม เซ็นเซอร์แบบพกพาสำหรับการตรวจวัดโลหะหนักและสารปนเปื้อน ระบบอัจฉริยะเพื่อใช้งานด้านการเกษตร ตัวเก็บประจุประสิทธิภาพสูง และอนุภาคนาโนสำหรับใช้เป็นสารมาตรฐานสำหรับการสอบเทียบ เป็นต้น โดยคาดว่าเมื่อสิ้นสุดโครงการจะสร้างผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมมากกว่า 1,200 ล้านบาท ซึ่งความร่วมมือดังกล่าวเป็นหนึ่งในภารกิจสำคัญที่จะสนับสนุนให้เกิดการดำเนินงานวิจัยและพัฒนาที่สอดคล้องกับแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนานาโนเทคโนโลยีของประเทศไทย รวมถึงนโยบายการขับเคลื่อนประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ที่จะนำพาประเทศไทยสู่ไทยแลนด์ 4.0” ผู้อำนวยการศูนย์นาโนเทค กล่าว สำหรับโครงการดังกล่าวในระยะที่ 1 ดำเนินงานในปี 2549-2554 ได้มุ่งเน้นสนับสนุนและสร้างเครือข่ายการวิจัยที่มีความเป็นเลิศทางด้านนาโนเทคโนโลยี ประกอบด้วย 8 ศูนย์เครือข่ายฯ จาก 8 มหาวิทยาลัย สามารถสร้างกลุ่มวิจัยทางด้านนาโนเทคโนโลยี ผลิตผลงาน ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติได้มากกว่า 400 เรื่อง รวมถึงมีส่วนในการสนับสนุนการผลิตบุคลากรด้านนาโนเทคโนโลยี ในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกเป็นจำนวนรวมกว่า 700 คน ขณะที่ในระยะที่ 2 ปี 2556 -2560 มุ่งเน้นการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายศูนย์พันธมิตรความเป็นเลิศด้านนาโนเทคโนโลยี จำนวน 9 ศูนย์เครือข่ายฯ จาก 8 มหาวิทยาลัย สามารถผลิตผลงานในเชิงวิชาการ เช่น การตีพิมพ์ผลงานในวารสารวิชาการระดับนานาชาติกว่า 500 เรื่อง สนับสนุนการผลิตบุคลากร นิสิตนักศึกษา ปริญญาโท และปริญญาเอกรวมกว่า 200 คน เกิดผลงานสิทธิบัตรกว่า 40 เรื่อง ตลอดจนเริ่มมีการผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ อาทิ การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาทางแสงไททาเนียมไดออกไซด์เพื่อการประยุกต์ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม ตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับลดก๊าซเรือนกระจก สูตรตำรับยา Povidone Iodine และ เสื้อดมกลิ่นอัจฉริยะ เป็นต้น Dailynews online 06.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร