Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยพัฒนาวัสดุเปลี่ยนรูปร่างได้จากเครื่องพิมพ์สามมิติ   

นักวิจัยที่ห้องทดลอง Morphing Matter Lab กำลังทดสอบเส้นพาสต้าแบบเปลี่ยนรูปร่างได้ รองศาสตราจารย์ หลินนิง เหยา หัวหน้าห้องทดลอง Morphing Matter Lab กล่าวว่า การปรับเปลี่ยนรูปทรงของวัสดุได้ตามต้องการจะเป็นประโยชน์ต่อวัสดุอื่นๆ อีกหลายอย่าง ยกตัวอย่าง หากเราสามารถเเพ็คชิ้นส่วนของเครื่องเรือนลงในกล่องแบนได้เพื่อจัดส่งแก่ลูกค้า แล้วลูกค้านำชิ้นส่วนเสียบปลั๊กเข้ากับกระเเสไฟฟ้าเพื่อให้ความร้อนกระตุ้นให้ชิ้นส่วนเครื่องเรือนประกอบตัวเองขึ้นเป็นโต๊ะหรือเก้าอี้ตามที่ต้องการ และนักวิจัยต้องเรียนรู้คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุเสียก่อนหากต้องการทำให้วัสดุนั้นๆ เปลี่ยนรูปทรงไปตามลักษณะที่ต้องการ รองศาสตราจารย์เหยา บอกว่า ทีมงานกำลังทำการโปรเเกรมสภาพก่อนการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัสดุภายในส่วนประกอบของพลาสติกในระดับไมโครสเกล ที่น่าสนใจมากกว่านั้นคือ วัสดุบางอย่างอาจสามารถเปลี่ยนรูปร่างกลับไปกลับมาได้ นักวิจัยยกตัวอย่างว่า เสื้อผ้าที่เราสวมสามารถพัฒนาให้ตอบสนองต่อเหงื่อได้ เเละสามารถเปิดหรือปิดแผ่นคลุมด้านหลังของเสื้ออัตโนมัติเพื่อให้ผู้สวมรู้สึกเย็นตัวขึ้นหรือรู้สึกอุ่นขึ้น และเกิดคำถามว่าจะเสียค่าใช้จ่ายสูงแค่ไหนในการผลิตวัสดุแบบนี้ รองศาสตราจารย์เหยา บอกว่า ทีมงานกำลังพยายามค้นหาคำตอบนี้อยู่เเละคาดว่าในตอนเสร็จสิ้นของการทดลอง ทีมงานน่าจะสามารถคิดค้นส่วนประกอบอย่างง่ายได้ทั้งในเเง่ของซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์เพื่อให้เหมาะกับการใช้งานตามเป้าหมาย ทีมนักวิจัยชี้ว่ากำลังเรียนรู้วิธีการควบคุมการเปลี่ยนรูปทรงของวัสดุชนิดต่างๆอยู่ แต่เส้นพาสต้าที่เปลี่ยนรูปทรงได้อาจจะเป็นวัสดุอย่างเเรกที่จะทำได้สำเร็จเเละออกไปสู่ตลาดผู้บริโภคในอนาคตอันใกล้ Voice of America 06.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร