Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

จุฬาฯรอส่งต่อเนยเทียมโอเมก้าสูง  

จุฬาฯขานรับกระแสรักสุขภาพพัฒนาเนยเทียมจากงาขี้ม้อน ชี้อุดมด้วยโอเมก้า 3 และ 6 ไร้ไขมันทรานส์ รอส่งต่อภาคธุรกิจเอกชนนำไปผลิตเชิงพาณิชย์ พร้อมต่อยอดขยายสู่ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ นายสุกฤต ศิริขวัญพงศ์ ผู้ช่วยคณบดีและอาจารย์ประจำภาควิชาโภชนาการและการกำหนดอาหาร คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยถึงความสำเร็จในการพัฒนาสูตรเนยเทียมจากงาขี้ม้อน และยื่นจดสิทธิบัตรเรียบร้อยแล้วพร้อมที่จะถ่ายทอดแก่ผู้ประกอบการ อีกทั้งได้รับรางวัลผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2561 ในกลุ่มอาหารและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ รางวัลระดับดี และระดับเหรียญทองในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ เนยเทียมหรือมาการีนผลิตจากไขมันพืช ส่วนใหญ่เป็นน้ำมันปาล์มซึ่งเป็นแหล่งไขมันทรานส์ (ไขมันไม่อิ่มตัว) ส่งผลต่อการเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ทีมวิจัยจึงมีแนวคิดที่จะผลิตเนยเทียมที่มีสัดส่วนไขมันโอเมก้า 3 และ 6 ซึ่งเป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่จำเป็นต่อร่างกาย ขณะที่งาขี้ม้อน ซึ่งเป็นพืชสมุนไพรพบมากในภาคเหนือและเป็นพืชชนิดเดียวที่มีโอเมก้าสูงสุด จึงน่าจะตอบโจทย์วิจัยนี้ได้ นักวิจัยได้พัฒนาสูตรผสมโดยใช้ไขมันหลายชนิดที่เป็นวัตถุดิบในประเทศทั้งหมด นำมาผสมกันเพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมสำหรับผลิตเป็นเนยเทียมหรือมาการีน ที่มีรสหวานจากน้ำตาลแคลอรี่ต่ำ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถทาบนขนมปังได้เหมือนกับแยม พบว่า กระบวนการผลิตไม่ได้ใช้ความร้อนสูงแต่ต้องแช่ในตู้เย็น แตกต่างจากมาการีนแข็งที่อยู่ในอุณหภูมิห้องได้นั้นจะมีไขมันทรานส์สูง จากการคำนวณต้นทุนการผลิตเนยเทียมจากงาขี้ม้อนในระดับห้องปฏิบัติการ ปริมาณ 150 กรัมราคา 40 บาท 50% ของต้นทุนผลิตมาจากงาขี้ม้อน แม้ว่าจะซื้อเป็นเมล็ดมาหีบออกมาเป็นน้ำมัน ทำให้ต้นทุนการผลิตถูกลงประมาณ 290 มิลลิกรัมราคา 90 บาทยังถือว่าสูง แต่หากซื้อในตลาด 1 ลิตรราคา 800 บาท ดังนั้นผู้ประกอบที่จะทำธุรกิจนี้ควรจะหีบน้ำมันเองเพื่อลดต้นทุน จึงมีความเป็นไปได้ว่าผู้ที่เข้ามาต่อยอดควรจะมีพื้นฐานธุรกิจน้ำมันมากก่อนจึงจะได้เปรียบ ทั้งนี้ ราคางาขี้ม้อนที่ยังไม่ผ่านการหีบ 80-90 บาทต่อกิโลกรัม หากผ่านการหีบมาแล้วขนาด 1 ซีซี ราคาประมาณ 1 บาทกว่า นอกจากนี้ยังมีแนวคิดต่อยอดการผลิตเนยเทียมที่มีส่วนผสมของงาขี้ม้อนมาใช้ทำผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคที่อิงเทรนด์รักสุขภาพซึ่งมีจำนวนมากขึ้น และเป็นทางเลือกให้ผู้ผลิตได้ใช้วัตถุดิบที่ดีต่อสุขภาพในการผลิตเบเกอรี่โอเมก้าสูง ในอนาคตงาขี้ม้อนจะเป็นพืชทางเลือกที่มีโอกาสสร้างมูลค่าในกลุ่มคนรักสุขภาพ รวมไปถึงภาคธุรกิจที่เล็งเห็นคุณประโยชน์ในพืชชนิดนี้ที่อุดมด้วยสารโอเมก้า ถือเป็นจุดเด่นที่สามารถเข้าทำตลาดต่างประเทศที่นิยมน้ำมันเมล็ดคาโนลา ซึ่งนำมาผลิตเป็นน้ำมันเพื่อสุขภาพ “แม้ว่าหลายคนมองเป็นเรื่องยาก แต่ผมกลับรู้สึกสนุกที่ได้พัฒนางานวิจัยนวัตกรรม ที่สามารถต่อยอดในอุตสาหกรรมจากเดิมที่ทำวิจัยในเชิงการแพทย์ แนวทางการทำงานของผมจะโฟกัสเรื่องของไขมันอาหาร เพราะมนุษย์หลีกเลี่ยงการบริโภคไขมันไม่ได้ แต่ควรเลือกรับประทานไขมันที่ดีในสัดส่วนที่พอเหมาะ จึงจะเกิดประโยชน์ต่อร่างกาย ทั้งนี้ ดีที่สุดควรเริ่มต้นจากการรับประทานไขมันที่ดีต่อสุขภาพ” นายสุกฤต กล่าว Bangkokbiznews 11.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร