Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยพบ “กังหันลม” มีส่วนทำโลกร้อน  

นักวิจัยพบพลังงานทางเลือกจาก “กังหันลม” มีส่วนทำโลกร้อน เนื่องจากปล่อยความร้อนและความชื้นสู่ชั้นบรรยากาศ งานวิจัยนี้ศึกษาในสหรัฐฯ โดยนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University) ซึ่งพบว่า ไฟฟ้าจากพลังงานลมทั่วสหรัฐฯ นั้นเป็นเหตุให้อุณหภูมิภาคพื้นในบริเวณที่มีกังหันลมติดตั้งเพิ่มขึ้น 0.54 องศาเซลเซียส และเป็นเหตุให้อุณหภูมิทั่วแผ่นดินใหญ่ของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 0.24 องศาเซลเซียส งานวิจัยดังกล่าวตีพิมพ์ในวารสาร “จูล” (Joule) ซึ่ง เดวิด คีธ (David Keith) วิศวกรและศาสตราจารย์ทางด้านนโยบายสาธารณะ อีกทั้งยังเป็นผู้เขียนรายงานอาวุโสกล่าวว่า พลังงานลมเอาชนะพลังงานถ่านหินในทุกมาตรวัดทางสิ่งแวดล้อม แต่ไม่ได้หมายความว่าผลกระทบจากพลังงานลมไม่สำคัญ เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นภาพนั้นนับแต่สิ้นสุดศตวรรษที่ 19 อุณหภูมิเฉลี่ยโลกเพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณ 1 องศาเซลเซียส ขณะที่ข้อตกลงปารีส ( Paris climate accord) ซึ่งเป็นข้อตกลงทางด้านภูมิอากาศนั้นเรียกร้องให้ประเทศต่างๆ ควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยให้อยู่ระหว่าง 1.5-2 องศาเซลเซียส เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมอันเลวร้ายที่จะตามมา เอเอฟพียังรายงานด้วยว่า มีงานวิจัยก่อนหน้านี้ที่ศึกษาผลกระทบจากกังหันลมต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตัวอย่างงานวิจัยดังกล่าวคืองานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารไซน์ (Science) ซึ่งได้สรุปว่า บริเวณทะเลซาฮาราที่ติดตั้งกังหันลมนั้นจะส่งผลกระทบต่ออุณหภูมิท้องถิ่น ปริมาณน้ำฝน และการปลูกผักได้ ส่วนนักวิจัยฮาวาร์ดในงานวิจัยล่าสุดนี้กล่าวว่า การติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์นั้นจะให้ผลกระทบน้อยกว่าการติดตั้งกังหันลมประมาณ 10 เท่า เมื่อคิดถึงอัตราพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตเท่ากัน ทว่าในระยะยาวแล้วพลังงานลมนั้นสะอาดกว่าถ่านหินและก๊าซธรรมชาติ โดยคีธอธิบายว่า ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของพลังงานนั้นเป็นค่าคงที่ ขณะที่ผลประโยชน์จากพลังงานลมนั้นเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ เช่น หากเรามองในช่วงระยะเวลา 10 ปี กังหันลมจะส่งผลกระทบต่อภูมิอากาศมากกว่าถ่านหินและก๊าซธรรมชาติ แต่หากมองในอีก 1,000 ปีนับจากนี้พลังงงานลมก็จะเป็นพลังงานสะอาดกว่าถ่านหินและก๊าซธรรมชาติมหาศาล Manager online 11.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร