Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เปิดตัว“ถนนจากขยะพลาสติก”แห่งแรกในไทย ผ่านแล็ปจุฬาฯ ทดสอบแข็งแรงกว่ายางมะตอยปกติถึง 30%  

เมื่อเร็วๆ นี้ มีการเปิดตัว “ต้นแบบถนนพลาสติกรีไซเคิล” หรือ “Recycled Plastic Road” หนึ่งในนวัตกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยความร่วมมือด้านเทคโนโลยีระหว่างเอสซีจี และกลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย ซึ่งได้นำพลาสติกใช้แล้ว อาทิ ถุงพลาสติกหูหิ้ว และถุงใส่อาหาร จากการคัดแยกขยะภายในเอสซีจีและครัวเรือนชุมชน ซึ่งรวบรวมโดยเทศบาลเมืองมาบตาพุด จ.ระยอง มาใช้ทดสอบเป็นส่วนผสมสำหรับสร้างถนนยางมะตอยภายในนิคมอุตสาหกรรมอาร์ไอแอล จากการทดสอบพบว่าคุณสมบัติของพลาสติกช่วยให้ถนนแข็งแรงและต้านทานการกัดเซาะของน้ำได้ดียิ่งขึ้น ถือเป็นการสร้างคุณค่าให้กับพลาสติกใช้แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียนคือการใช้ทรัพยากรให้น้อยที่สุดและมีประสิทธิภาพสูงสุด เป็นวงจรการใช้ทรัพยากรโดยพยายามควบคุมให้ในกระบวนการผลิตสิ่งของขึ้นมาสักอย่าง เมื่อนำไปใช้แล้ว สามารถนำซากสิ่งของเหล่านั้นวนกลับมาเข้าสู่กระบวนการผลิตได้ใหม่ โดยเหลือขยะให้น้อยที่สุด เป็นวงจรที่หมุนเวียนเป็นวงกลม คือ “ผลิต-ใช้-นำกลับมาผลิตใหม่” (make-use-return) ถนนพลาสติกรีไซเคิลที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นต้นแบบนี้ มีขนาดยาว 220 เมตร กว้าง 3 เมตร หนา 6 เซนติเมตร สำหรับใช้ประโยชน์ในการเป็นทางสัญจรภายในนิคมฯ ดังกล่าว มีขั้นตอนการทำเริ่มจาก 1. คัดแยกขยะพลาสติก เช่น ถุงพลาสติกหูหิ้ว และถุงใส่อาหาร 2. นำพลาสติกที่ผ่านการคัดแยกแล้วมาผ่านกระบวนการบดย่อยให้มีขนาดเล็ก 3. นำเข้าสู่กระบวนการผลิต โดยการนำพลาสติกที่บดแล้วมาผสมกับยางมะตอย และ4. นำยางมะตอยที่มีส่วนผสมของพลาสติกบดแล้วมาปูถนนด้วยวิธีปกติทั่วไป คุณสมบัติและประโยชน์ของการนำพลาสติกมาเป็นส่วนผสมในการสร้างถนนเช่นนี้ นอกจากทำให้ถนนมีความคงทนแข็งแรงเพิ่มขึ้น และช่วยต้านทานการกัดเซาะของน้ำได้ดียิ่งขึ้น ยังช่วยลดปริมาณการใช้ยางมะตอยในการสร้างถนน ลดการเกิดก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตยางมะตอย เป็นการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ลดปริมาณขยะพลาสติกและเพิ่มคุณค่าให้กับพลาสติกอีกด้วย สำหรับผลการทดสอบโดยภาควิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผลการทดสอบ Asphalt concrete ที่ผสมพลาสติกด้วยวิธี dry process และพบว่ามีผลทดสอบความสามารถในการรับแรงดีขึ้น (Marshall stability) 15-30% Manager online 11.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร