Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

มาเลเซียไม่รอแล้ว! ออกโรดแมปแบนพลาสติกแบบใช้แล้วทิ้งทั้งหมดในปี 2030  

หลังจากประกาศแบนหลอดพลาสติกในเมืองใหญ่ๆ ไม่นานมานี้ รัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมคนใหม่ของมาเลเซียฟิตจัด ประกาศ Road Map หวังแบนพลาสติกแบบใช้แล้วทิ้งทั้งหมดภายในปี 2030 หรืออีก 12 ปี ซึ่งนับเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ลุกขึ้นมาจัดการวิกฤตขยะพลาสติกอย่างจริงจังที่สุด Yeo Been Yin รัฐมนตรีสิ่งแวดล้อม กล่าวว่า road map นี้จะมีข้อเสนอแนะต่อผู้ผลิตพลาสติกด้วยว่าจะปรับธุรกิจอย่างไรให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น เช่น ปรับไปทำหลอดที่ใช้ซ้ำได้ใหม่แทน เธอกล่าวว่า "ทางกระทรวงฯ ไม่ได้ต้องการฆ่าผู้ผลิตให้ตาย แต่ช่วยเตรียมตัวพวกเขาให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นต่างหาก" ประกาศดังกล่าวนี้ออกมาไม่กี่วันหลังประกาศแบนหลอดพลาสติกในเมืองกัวลาลัมเปอร์, ปุตราจายา, และลาบวน ซึ่งจะแบนอย่างเต็มรูปแบบภายในปี 2020 โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2019 ทางการจะออกแคมเปญเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนถึงผลเสียของการใช้หลอดพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง ธุรกิจและร้านค้าที่ยังฝ่าฝืนใช้หลอดพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งอยู่ อาจถูกพิจารณาเพิกถอนใบอนุญาต ยกเว้นเฉพาะเมื่อให้บริการผู้มีความจำเป็นทางกายภาพที่ต้องใช้หลอดพลาสติกในชีวิตประจำวัน จากงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในปี 2015 มาเลเซียเป็นประเทศที่ทิ้งขยะพลาสติกมากเป็นอันดับที่ 8 ของโลก โดยที่กลุ่มประเทศในลุ่มแม่น้ำโขงจัดว่าเป็นกลุ่มผู้ผลิตขยะพลาสติกลงทะเลรายใหญ่ที่สุดของโลก ได้แก่ จีน อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม และฟิลิปปินส์ รวมกันแล้วผลิตขยะพลาสติกมากกว่าครึ่งของทั้งโลก!! แต่จนถึงปัจจุบัน ประเทศเหล่านี้ยังไม่มีนโยบายและมาตรการที่ชัดเจนในการบังคับทางกฎหมาย เพียงเน้นส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกและขอความร่วมมือเป็นหลักเช่นเดียวกับประเทศไทย ซึ่งทิ้งขยะพลาสติกในทะเลมากเป็นอันดับที่ 5 ของโลก ขณะที่ประเทศอินโดนีเซีย ทดลองเก็บเงินค่าถุงพลาสติกได้เพียงสามเดือนก็ทนข้อโต้แย้งของบรรดาร้านค้าปลีกไม่ไหว แม้ว่าจะช่วยลดการใช้ถุงพลาสติกลงได้กว่าครึ่งหนึ่งก็ตาม ส่วนประเทศกัมพูชา มีการเรียกเก็บเงินจากถุงพลาสติกเมื่อต้นเดือนเมษายนที่ผ่านมา แต่คงจำกัดเฉพาะศูนย์การค้าและซูเปอร์มาร์เก็ต แต่รัฐบาลก็มีเป้าหมายที่จะขยายความคิดริเริ่มสู่ตลาดสดและร้านค้าปลีกอื่น ๆ มีการห้ามนำพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวในประเทศฟิลิปปินส์ ขณะที่เมืองในท้องถิ่น เช่นเมือง Dumaguete ได้บังคับใช้นโยบายพลาสติกเป็นศูนย์ ทำให้ถุงพลาสติกถูกแบนในตลาดสาธารณะ สิงคโปร์ออกคำแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายห้ามการใช้ หรือลดภาษีพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแทนวิธีอื่นเพื่อลดการใช้พลาสติก พร้อมกันนี้ทางรัฐบาลเรียกร้องให้แก้ปัญหาในระยะยาวผ่านแคมเปญการสร้างจิตสำนึกเพื่อกำหนดเป้าหมายการใช้พลาสติกของประชาชน ต่อจากนี้คงต้องติดตามดูกันต่อว่าในกลุ่มประเทศอาเซียน ใครจะเป็นแชมป์ตัวจริงในการแก้ปัญหาขยะพลาสติกของโลก ข้อมูลอ้างอิง https://www.eco-business.com/…/malaysia-to-ban-single-use-…/ Manager online 13.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร