Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

สนามบินที่นครเซี่ยงไฮ้เริ่มใช้การเช็คอินด้วยเทคโนโลยีจดจำใบหน้า  

ที่ท่าอากาศยานเซี่ยงไฮ้ หงเฉียว เปิดให้มีการเช็คอินอัตโนมัติโดยการใช้เทคโนโลยีจดจำใบหน้า ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเปิดตัวระบบจดจำใบหน้าในประเทศจีน เรื่องนี้ก่อให้เกิดความกังวลในเรื่อง ของความเป็นส่วนตัว สืบเนื่องมาจากการที่ปักกิ่งพยายามที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำระดับโลกทางด้านนี้ สำนักงานการบินพลเรือนของประเทศจีนเผยว่า ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ หงเฉียว เปิดตัวตู้สำหรับการเช็คอินเที่ยวบินและสัมภาระ ซึ่งยังช่วยเจ้าหน้าที่ตรวจสอบความปลอดภัยก่อนขึ้นเครื่องเนื่องจากมีการใช้เทคโนโลยีจดจำใบหน้าเข้ามาช่วย สนามบินหลายๆ แห่งในจีนเริ่มใช้เทคโนโลยีจดจำใบหน้ากันแล้ว เพื่อช่วยให้ระบบตรวจสอบความปลอดภัยดำเนินไปอย่างรวดเร็ว แต่ระบบที่เซี่ยงไฮ้เริ่มใช้เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา เป็นระบบอัตโนมัติ ครบวงจรที่มีใช้เป็นแห่งแรกในประเทศ นาย Zhang Zheng ผู้จัดการทั่วไปของแผนกบริการภาคพื้นดินสายการบิน Spring Airlines กล่าวว่า นับเป็นครั้งแรกที่ประเทศจีนเปิดใช้ระบบเช็คอินอัตโนมัติครบวงจร ซึ่งผู้โดยสารดำเนินการเองทุกขั้นตอน สายการบิน Spring Airlines เป็นสายการบินแรกที่นำระบบนี้ไปใช้ที่สนามบินหงเฉียว และในตอนนี้มีเพียงผู้ถือบัตรประจำตัวประชาชนจีนเท่านั้นที่สามารถใช้เทคโนโลยีนี้ได้ สายการบิน Spring Airlines ให้ข้อมูลว่า 87% ของผู้โดยสาร 5,017 คนที่เดินทางกับสายการบิน ของตนเมื่อวันจันทร์ใช้ตู้บริการตัวเอง ซึ่งสามารถลดเวลาในการเช็คอินเหลือเพียงไม่ถึงหนึ่งนาที ครึ่งต่อคนเท่านั้นเอง ส่วนที่จีนแผ่นดินใหญ่ นำระบบจดจำใบหน้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน เช่นเจ้าหน้าที่ตำรวจใช้ระบบ จดจำใบหน้าเพื่อระบุตัวผู้ที่รัฐบาลจับตามองท่ามกลางหมู่ฝูงชน ตลอดจนจับกุมกลุ่มคนที่ไม่ข้ามถนนตรงทางข้าม และรัฐบาลจีนกำลังพยายามพัฒนาระบบข้อมูลกล้องวงจรปิดระดับชาติอีกด้วย ปัจจุบัน สื่อจีนรายงานข่าวอยู่บ่อยครั้งเกี่ยวกับการใช้งานระบบจดจำใบหน้าที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เช่น ที่ร้าน KFC ในเมืองหางโจว ที่อยู่ใกล้ๆ กับนครเซี่ยงไฮ้นำเทคโนโลยีจดจำใบหน้ามาใช้เวลาลูกค้าจ่ายเงิน และบางโรงเรียนใช้กล้องตรวจจับใบหน้าเพื่อดูปฏิกิริยาของนักเรียนในชั้นเรียน ขณะที่ตู้เอทีเอ็มหลายร้อยตู้ในมาเก๊าติดตั้งอุปกรณ์จดจำใบหน้าเพื่อลดปัญหาการฟอกเงิน อย่างไรก็ตาม ความสะดวกสบายที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายในประเทศตามมา ทั้งยังมีกฏข้อบังคับสำหรับรัฐบาลในเรื่องการใช้ข้อมูลทางด้านชีวภาพด้วย Voice of America 20.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร