Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยในอังกฤษพัฒนาเทคนิคใหม่พยากรณ์ 'หัวใจวาย' ล่วงหน้า   

มีความหวังว่าเทคโนโลยีใหม่จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถหาทางป้องกันตัวเองจากโรคหัวใจที่จะคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตได้ ปกติเเล้วภาพแสกน CT หัวใจนี้จะช่วยให้แพทย์สามารถระบุได้ว่า คนไข้มีหลอดเลือดหัวใจที่กำลังตีบตันตรงจุดใดบ้างเท่านั้น คาราแลมบอส แอนโตเนียเดส นักวิจัยในอังกฤษ กล่าวว่า เทคโนโลยีใหม่นี้ช่วยให้แพทย์วินิจฉัยได้มากกว่านั้น โดยสามารถบอกได้ว่าผนังหลอดเลือดยังไม่เกิดการตีบตันจนน่าเป็นห่วง เเต่ผนังหลอดเลือดมีอาการอักเสบ ซึ่งทำให้หลอดเลือดเสี่ยงที่จะตีบหรืออุดตันในอนาคต ดังนั้นคนไข้จึงควรหาทางป้องกันโรค อาจจะด้วยการกินยาหรือเพิ่มปริมาณยาเพื่อเลี่ยงไม่ให้เกิดการก่อตัวของคราบในหลอดเลือด ซึ่งจะทำให้หลอดเลือดตีบตันเเละเกิดอาการหัวใจวาย ทีมนักวิจัยกล่าวว่า การระบุได้เเต่เนิ่นๆ ว่าเกิดการอับเสบขึ้นบริเวณหลอดเลือดหัวใจ ถือเป็นความคืบหน้าครั้งสำคัญในการป้องกันอาการหัวใจวาย นักวิจัยกล่าวว่า กุญแจสำคัญของการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดเเละหัวใจคือการตรวจหาอาการอักเสบของหลอดเลือดหัวใจ เพราะการตรวจนี้เป็นสิ่งที่วงการแพทย์พยายามค้นหามานานตลอด 50 ปีที่ผ่านมา และหากสามารถระบุได้ว่ามีอาการอักเสบในหลอดเลือด แพทย์ก็จะสามารถบอกได้ว่าหลอดเลือดหัวในจุดใดที่อาจจะก่อให้เกิดคราบอุดตันในหลอดเลือด เกิดโรคหัวใจเเละหลอดเลือดหัวใจเส้นไหนที่จะเป็นสาเหตุให้เกิดหัวใจวาย ทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยอ็อกฟอร์ด เชื่อว่า ผลงานการวิจัยของทีมงานนี้จะสามารถช่วยวินิจฉัยคนมีความที่เสี่ยงที่จะล้มป่วยด้วยอาการหัวใจวายในอนาคตได้ราว 30,000 คนต่อปี นักวิจัยกล่าวว่า ในอังกฤษ มีคนเกิดอาการหัวใจวายปีละ 100,000 คน เเละเทคโนโลยีใหม่นี้มีศักยภาพในการช่วยระบุได้ล่วงหน้าราวร้อยละ 20 - 30 ของคนที่เข้ารับการตรวจว่าอาจเกิดอาการหัวใจวายในอนาคต Voice of America 24.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร