Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

พบหลักฐานขยะพลาสติกเข้าสู่ทางเดินอาหารมนุษย์  

นักวิทยาศาสตร์พบหลักฐานแรกที่พิสูจน์ว่าขยะพลาสติกเข้าสู่ห่วงโซ่อาหารมนุษย์แล้ว หลังตรวจพิสูจน์อุจจาระประชากรในยุโรป รัสเซีย และญี่ปุ่น งานวิจัยดังกล่าวซึ่งเป็นการศึกษานำร่องได้ทดสอบอาสาสมัคร 8 คน และพบพลาสติกหลายชนิดที่เข้าสู่ห่วงโซ่อาหารของมนุษย์ โดยพบไมโครพลาสติก 20 อนุภาคต่ออุจจาระ 10 กรัม นักวิทยาศาสตร์คาดเดาว่า ไมโครพลาสติกที่มีขนาดตั้งแต่ 50-500 ไมโครเมตรนั้น อาจถูกกลืนกินโดยผ่านอาหารทะเล พลาสติกห่อหุ้มอาหาร หรือขวดพลาสติก ซึ่งขนาดดังกล่าวไล่เลี่ยกับขนาดเส้นผมมนุษย์ที่มีขนาดตั้งแต่ 50-100 ไมโครเมตร งานวิจัยนี้เปิดเผยภายในงานประชุมด้านวิทยาการทางเดินอาหารที่กรุงเวียนนา ออสเตรีย เมื่อวันอังคารที่ 23ต.ค.2018 ที่ผ่านมา โดย เบตตินา ไลบ์มันน์ (Bettina Liebmann) นักวิจัยผู้วิเคราะห์ตัวอย่างของเสียมนุษย์ดังกล่าว จากสำนักงานกลางด้านสิ่งแวดล้อมของออสเตรียระบุว่า จากการทดสอบในห้องปฏิบัติการพบว่า มีพลาสติก 9 ชนิดผ่านทางเดินอาหารของมนุษย์ ตัวอย่างไมโครพลาสติก 2 ชนิด พบได้โดยทั่วไปนั่นคือ โพลีโพรพีลีน (polypropylene) หรือ PP ซึ่งเป็นพลาสติกที่พบในฝาขวด เชือก และสายรัด กับโพลีเอธีลีนเทเรฟทาเลต (polyethylene terephthalate) หรือ PET ซึ่งพบได้ในขวดน้ำอื่ม และเส้นใยสิ่งทอ และยังพบโพลีสไตรีน (polystyrene) ซึ่งพบได้ในเครื่องใช้ภายบ้าน ถ้วยและเครื่องทำความเย็น กับโพลีเอทีลีนที่พบได้ในถุงพลาสติก ซึ่งทั้งหมดนี้คิดเป็น 95% ของอนุภาคไมโครพลาสติกที่ตรวจพบ “เรายังไม่สามารถหาความเชื่อมโยงที่เชื่อถือได้ระหว่างพฤติกรรมการกินอาหารกับการได้รับไมโครพลาสติกเข้าสุ่ทางเดินอาหาร” ฟิลิปป์ ชวาบล์ (Philipp Schwabl) นักวิจัยหลักในการศึกษานี้จากมหาวิทยาลัยการแพทย์แห่งเวียนนา (Medical University of Vienna) กล่าว รายงานจากเอเอฟพีระบุว่า จากการศึกษาก่อนหน้านี้ในสัตว์พบว่ามีไมโครพลาสติกปริมาณเข้มข้นอยู่ในกระเพาะและลำไส้ของสัตว์ แต่พบอนุภาคดังกล่าวปริมาณเล็กน้อยในเลือด เม็ดเลือดและตับ ชวาบล์กล่าวว่า มีข้อบ่งชี้เบื้องต้นว่า ไมโครพลาสติกเหล่านั้นสามารถทำอันตรายต่อระบบทางเดินอาหาร โดยการทำให้เกิดปฏิกิริยาอักเสบในทันทีหรือการดูดกลืนสารประกอบที่เป็นอันตรายเข้าไป แต่จำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อประเมินถึงอันตรายร้ายแรงจากไมโครพลาสติกที่มีผลต่อมนุษย์ อาสาสมัครของชวาบล์เป็นผู้หญิง 5 คน ผู้ชาย 3 คน จากฟินแลนด์ เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ อิตาลี โปแลนด์ รัสเซีย ญี่ปุ่นและออสเตรีย โดยอาสาสมัครมีอายุระหว่าง 33-65 ปี แต่ละรายจะบันทึกการกินนาน 1 สัปดาห์ และเก็บตัวอย่างอุจจาระส่งตรวจ ทั้งหมดกินอาหารที่ห่อหุ้มด้วยพลาสติก และดื่มเครื่องดื่มในขวดพลาสติก และมี 6 รายที่กินอาหารทะเล แต่ไม่มีใครเป็นมังสวิรัติ อย่างไรก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในงานวิจัยนี้กล่าวว่า มีข้อจำกัดมากเกินไปที่จะยืนยันข้อสรุปใดๆ โดยเฉพาะในแง่ผลกระทบต่อสุขภาพ โดย อลิแตร์ บอกซอลล์ (Alistair Boxall) ศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยยอร์ก (University of York) ในอังกฤษให้ความเห็นว่า เขาไม่มีแปลกใจหรือเป็นกังวลต่อการค้นพบนี้เลย “ไมโครพลาสติกพบได้ในน้ำก๊อก น้ำขวด ปลา และเนื้อเยื่อหอยสองฝา หรือแม้แต่ในเบียร์ ดังนั้น จึงเป็นสิ่งที่เลี่ยงไม่ได้ที่อย่างน้อยบางส่วนของไมโครพลาสติกจะเข้าสู่ปอดหรือทางเดินอาหารของเรา” บอกซอลล์กล่าวและเสริมว่ายังต้องมีงานวิจัยเพิ่มเติมอีกมาก ก่อนที่จะเราจะประเมินได้ว่าพลาสติกที่พบในท้องเรามีแหล่งกำเนิดจากที่ใด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประเมินว่าพลาสติกเหล่านั้นอันตรายหรือไม่ ส่วน สเตฟานี ไรท์ (Stephanie Wright) นักวิจัยจากคิงส์คอลเลจลอนดอน (King's College London) มีคำถามว่า พลาสติกนั้นสะสมในร่างกายคนหรือไม่ ซึ่งสิ่งที่ยังไม่รู้คือความเข้มข้นของพลาสติกที่ถูกกินเข้าไปนั้น มีปริมาณสูงกว่าที่ถูกขับออกมาหรือไม่ เนื่องจากพลาสติกต้องผ่านผนังลำไล้ และยังไม่มีงานวิจัยตีพิมพ์ที่บ่งชี้ถึงผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้น Manager online 24.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร