Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

พบวิธีใหม่บำบัดวัณโรคดื้อยาหลายขนานได้ผล 80%  

นักวิจัยพบวิธีใหม่บำบัดเชื้อวัณโรคที่ดื้อยาหลายขนานได้ผลถึง 80% คาดจะเป็น “ผู้เปลี่ยนเกม” ในการต่อสู้โรคร้ายที่คร่าชีวิตคนทั่วโลก รายงานพิเศษจากเอเอฟพีเผยว่า แพทย์ในเบลารุส ซึ่งเป็นหนึ่งในประเทศที่มีอัตราการดื้อยาของเชื้อวัณโรคสูงที่สุดในโลก ได้ทดลองใช้ยาตัวใหม่คือ “บีดาควิลีน” (bedaquiline) คู่ขนานไปกับยาปฏิชีวนะอื่นๆ ในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค โดยใช้เวลาอยู่หลายเดือน ผลจากการรักษาผู้ป่วย 181 ราย ในจำนวนดังกล่าวมี 168 รายที่ได้รับยาตัวใหม่ครบชุด และมี 144 รายที่หายขาด ทั้งนี้ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ระบุว่า มีประชากรเพียง 55% ที่ติดเชื้อวัณโรคดื้อยา แล้วรักษาได้หายขาด การทดลองเบลารุสซึ่งมีอัตราการรักษาหาย 80% นี้ เป็นการทดสอบยาบีดาควิลีนที่เคยมีทดสอบในประเทศอื่นๆ ที่ยุโรปตะวันออก แอฟริกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพาลา ฟูจิวารา (Paula Fujiwara) ผู้อำนวยการด้านวิทยาศาสตร์ของสหพันธ์สากลองค์กรต่อต้านวัณโรคและโรคปอด (International Union Against Tuberculosis and Lung Disease) ซึ่งไม่ได้มีส่วนร่วมในงานวิจัยนี้ ให้ความเห็นว่าผลทดลองจากการศึกษาดังกล่าวนี้ยืนยันว่า ยาตัวใหม่อย่างบีดาควิลีนสามารถรักษา และเป็น “ผู้เปลี่ยนเกม” สำหรับประชากรที่ติดเชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนาน และเป็นเชื้อที่ดื้อยารุนแรง อะเลนา สคราฮินา (Alena Skrahina) นักวิจัยหลักการศูนย์วิจัยและใช้ประโยชน์สาธารณรัฐด้านระบบหายใจและวัณโรค (Republican Research and Practical Centre for Pulmonology and TB) ในเมืองมินสก์ เบลารุส กล่าวถึงผลการรักษาด้วยยาบีดาควิลีนว่า “เป็นสัญญาณที่ดี” และบอกว่าการศึกษาครั้งนี้เป็นการยืนยันประสิทธิภาพของบีดาควิลีนที่เคยมีการศึกษาระดับคลีนิคก่อนหน้านี้ แต่ไม่ได้ยืนยันถึงความปลอดภัยในการใช้ เมื่อปี 2017 ที่ผ่านมาวัณโรคได้คร่าชีวิตผู้คนไปอย่างน้อย 1.7 โดยอ้างอิงจากองคืการอนามัยโลก ทำให้โรคที่ติดต่อผ่านฝอยละอองในอากาศนี้เป็นโรคติดเชื้อที่มีการตายได้มากที่สุดในโลก โดยคร่าชีวิตคนไปมากกว่าโรคมาลาเรียถึง 3 เท่าในแต่ละปี อีกทั้งยังเป็นสาเหตุหลักของการตายในผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ แม้จะมีคนตายจากวัณโรคไปจำนวนมาก แต่ทุนวิจัยทั่วโลกเพื่อรักษาโรคนี้กลับน้อยกว่าทุนวิจัยด้านเอชไอวีและเอดส์ถึง 10 เท่า เชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนานนี้จะภูมิต้านทานยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการรักษาโรคนี้อย่างน้อย 2 ชนิด ซึ่งผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่าการแพร่กระจายของโรคนี้ไปทั่วโลกนั้นเนื่องจากการด้อยความสามารถในการจัดการผู้ป่วยโรคนี้ เมื่อเทียบกับการติดเชื้อเอชไอวีแล้ว การติดเชื้อวัณโรคนั้นรักษาให้หายได้ แต่ต้องอยูภายใต้การรักษาอย่างเข้มงวดนานถึง 6 เดือน และในแต่ละวันยังต้องรับการรักษาด้วยยาหลายขนาน ซึ่งหลายครั้งที่การรักษาไม่ต่อเนื่องทำให้เกิดการดื้อยาได้ ซึ่งปัจจุบันมีรายการดื้อยาขนานของเชื้อวัณโรคทั่วโลกอย่างน้อย 117 ประเทศแล้ว สำหรับยาบิเดควิลีนนั้นไม่ได้โจมตีเชื้อแบคทีเรียก่อวัณโรคโดยตรง แต่จะพุ่งเป้าไปที่เอ็นไซม์ซึ่งเชื้อโรคต้องใช้สร้างพลังงาน และผลจากการรักษาผู้ป่วยที่มีประสบการณ์พบผลข้างเคียงจากการใช้ยาอื่นๆ รักษาวัณโรค ให้ข้อมูลว่าการรักษาด้วยยาตัวนี้มีผลข้างเคียงน้อยกว่า Manager online 25.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร