Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยพัฒนาพันธุ์พืชให้เก็บกักแก๊สคาร์บอนได้ถาวร  

ในการสังเคราะห์แสง พืชใช้พลังงานที่ได้จากเเสงอาทิตย์ในการดูดซึมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศเเละเมื่อรวมเข้ากับน้ำ พืชก็จะสร้างน้ำตาลเพื่อการเจริญเติบโต และในกระบวนการนี้ พืชจะปล่อยแก๊สออกซิเจนออกมาเเละเก็บกักแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไว้ในเนื้อเยื่อ รวมทั้งในราก หลังจากนั้น พืชจะค่อยๆปล่อยแก๊สคาร์บอนออกมาขณะที่เจริญเติบโตเเละเมื่อตายลงเเละเริ่มเน่าสลาย แต่ยังมีเเก๊สคาร์บอนส่วนหนึ่งคงอยู่ในดิน กระบวนการชีววิทยาของพืชนี้เป็นเเรงบันดาลใจให้ทีมนักวิทยาศาสตร์ที่สถาบันซอล์ก ที่ซานดิเอโด รัฐเเคลิฟอร์เนีย ให้ทำการโปรแกรมพืชให้สร้างแก๊สคาร์บอนที่มีความเสถียรมากขึ้นเพื่อกักเก็บเอาไว้ลึกในใต้ดินเป็นการถาวร โจเซฟ โนเอ ศาสตราจารย์ที่สถาบันซอล์ก กล่าวว่า ตอนเป็นเด็ก เขาเติบโตในทางตะวันตกของรัฐเพนซิลเวเนีย เขาชอบทำสวนมาก คุณยายเเละคุณทวดสอนเขาปลูกสวนผักทุกฤดูร้อน และเขาได้ฝึกฝนการทำปุ๋ย และจำได้ว่าเคยนำฝาจุกขวดเหล้าไวน์ใส่ไว้ในปุ๋ยหมักเพราะคิดว่าเป็นไม้ และน่าจะย่อยสลายได้ แต่พบว่าฝาขวดเหล้าไวน์ไม่ย่อยสลาย ฝาจุกขวดเหล้าไวน์มีสารซูเบอร์ริน (suberin) ซึ่งมีคุณสมบัติกันน้ำในปริมาณที่สูง สารนี้พบในพืชเกือบทุกชนิด เเละช่วยป้องกันรากของพืชจากการเน่าสลาย และคุณสมบัตินี้นี่เองที่นักวิทยาศาสตร์หวังว่าอาจนำไปใช้ในการเก็บกักแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไว้ใต้พื้นดินและช่วยอนุรักษ์โลกเอาไว้ โนเอล กล่าวว่า การฝังแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไว้ใต้ดินจะยิ่งเป็นผลดีต่อพืช เพราะช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต เเละเป็นผลดีต่อระบบนิเวศวิทยา หรือแก่ที่ดินทำการเกษตร เนื่องจากการมีปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในดินในระดับสูงจะมีผลดีต่อสิ่งเเวดล้อม ขณะนี้ ทีมนักวิทยาศาสตร์ที่สถาบันซอล์ก กำลังหาทางพัฒนาระบการทำงานที่จะช่วยให้พืชผลิตสารซูเบอร์รินได้มากขึ้น ห้องทดลองของสถาบันซอล์กเลียนแบบสภาพภูมิอากาศหลายโซนด้วยกัน เพื่อหาทางพัฒนาพืชที่เหมาะสมที่สุดสำหรับพื้นที่ในส่วนต่างๆ ของโลก ขั้นตอนนี้ใช้เวลานานเเละต้องใช้ความพยายามมาก เมื่อเร็วๆนี้ สถาบันซอล์กได้ซื้อหุ่นยนต์ที่ใช้เวลาเพียงหนึ่งวันในการทำงานที่นักวิจัยต้องใช้เวลาทำถึง 5 สัปดาห์ ทีมนักวิจัยใช้วิธีการผสมพันธุ์พืชแบบดั้งเดิมในการผลิตพืชอาหารที่มีความสามารถในการเก็บกักแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้ในปริมาณที่สูงขึ้น แต่ในอนาคต ทีมนักวิทยาศาสตร์อาจจะหันไปใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม วูล์ฟเเกง บูสช์ รองศาสตราจารย์แห่งสถาบันซอล์ก กล่าวว่า ในโครงการนี้ ทีมงานใช้การวิธีดั้งเดิมในการคิดค้นพันธุ์พืชขึ้นมาใหม่ โดยใช้พันธุกรรมที่หลากหลายเเละเเตกต่างกัน ซึ่งมีอยู่เเล้วในธรรมชาติ เพื่อให้พืชพันธุ์ใหม่ผลิตสารกันน้ำมากขึ้น ในขณะนี้ จึงยังไม่จำเป็นต้องใช้วิธีตกแต่งพันธุกรรมพืช แต่ในอนาคต อาจต้องใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมเข้ามาช่วยเพราะทำได้เร็วกว่ามาก ทำให้ประหยัดเวลาการทำงานลงมากได้อย่างมาก เพราะปัญหาภาวะโลกร้อนทวีความรุนแรงมากขึ้นเเละเราไม่สามารถรอนานได้ในการหาทางแก้ปัญหานี้ ในอีกห้าปีข้างหน้า นักวิทยาศาสตร์หวังว่าจะสามารถพัฒนาพืชขึ้นมาได้หลายชนิด เพื่อให้เหมาะกับการนำไปปลูกในพื้นที่แต่ละส่วนของโลก เพื่อช่วยลดระดับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศลง Voice of America 28.10.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร