Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

แผ่นสีอัจฉริยะ แจ้งกลิ่นหืนอาหารทอดน้ำมันท่วม   

วว.ประกาศถ่ายทอดผลงานให้ภาคธุรกิจเอกชนที่สนใจนำไปลงทุนขยายผล หลังจากประสบผลสำเร็จในการวิจัยและพัฒนา บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ เครื่องมือวัดระดับความหืนของอาหารทอด ทดสอบประสิทธิภาพกับทุเรียนทอดบรรจุในถุงพลาสติก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย ประสบผลสำเร็จในการวิจัยและพัฒนา บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ (Intelligent Packaging) เครื่องมือวัดระดับความหืนของอาหารทอดที่มีประสิทธิภาพ ใช้ติดตามการเหม็นหืนที่จะเกิดกับอาหารทอด หลักการทำงานของแผ่นชี้วัดการหืนจะเปลี่ยนสีให้ผู้บริโภคเห็นอย่างเด่นชัดเมื่ออาหารเกิดการเหม็นหืน นับเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็วและเข้าใจง่าย เพื่อช่วยเตือนผู้บริโภคก่อนที่จะตัดสินใจบริโภค ทุกวันนี้ผู้บริโภคไม่มีโอกาสทราบก่อนว่า อาหารที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์ที่ซื้อมานั้นเสื่อมคุณภาพจากการหืนหรือไม่ จนกว่าจะเปิดบรรจุภัณฑ์และได้กลิ่น แต่ถ้าระดับกลิ่นหืนที่เกิดขึ้นมีระดับต่ำกว่าที่ประสาทสัมผัสของผู้บริโภคจะรับได้ ผู้บริโภคก็จะไม่ทราบและจะบริโภคอาหารนั้นเข้าไป อีกทั้งระดับการรับรู้ของผู้บริโภคแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริโภคที่ไม่รู้จักกลิ่นหืนก็จะไม่ทราบเลยว่าอาหารที่ตัวเองบริโภคไปนั้นเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ดังนั้น หากมีแผ่นชี้วัดการหืนที่เป็นเครื่องมือวัดระดับความหืนของอาหารทอดที่มีประสิทธิภาพ ก็จะช่วยลดปัญหานี้ลงได้ อีกทั้งการเปลี่ยนสีของแผ่นตัวชี้วัดยังง่ายต่อการเข้าใจของคนทุกระดับ นอกจากนี้ การใช้บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะนี้ยังช่วยสร้างจุดขายให้สินค้า เพื่อบอกคุณภาพ สร้างความมั่นใจในการซื้อครั้งต่อไปของผู้บริโภค อันเป็นการสร้างจุดต่างกับคู่แข่งได้เป็นอย่างดี Bangkokbiznews 05.11.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร