Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักกีฏวิทยาจีนพบยุงยักษ์ใหญ่เกือบเท่าไม้บรรทัด ทำลายสถิติ “กินเนสส์ เวิล์ด เรคคอรด์ส”  

กลุ่มสื่อจีนรายงาน (2 พ.ย.) “กินเนสส์ เวิล์ด เรคคอรด์ส” (Guinness World Records) ยกให้ยุงยักษ์ที่ถูกพบโดยนักกีฏวิทยาชาวจีนเป็นยุงที่ตัวใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อเดือน มิ.ย. ที่ผ่านมา นายเจ้า ลี่ นักกีฏวิทยาจีนได้พบยุงขนาดมหึมาระหว่างการเดินทางศึกษานอกสถานที่ยังภูเขาชิงเฉิง ในนครเฉิงตู เมืองเอกของมณฑลเสฉวน รายงานระบุว่า ยุงยักษ์ของนายเจ้า มีขนาดปี 11.5 เซนติเมตร และมีความยาวเมื่อวัดจากขาหน้าไปยังขาหลัง 25.8 เซนติเมตร ทำลายสถิติเดิมของนาย Mark Carwardine นักกีฏวิทยาชาวอังกฤษเมื่อปี 2551 ที่มีขนาด 23 เซนติเมตร ยุงยักษ์แชมป์โลกเป็นยุงสายพันธุ์ Holorusia Mikado ซึ่งถูกพบครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี 1876 โดยนาย John Obadiah Westwood นักกีฏวิทยาชาวอังกฤษ โดยในพื้นที่ทางทิศตะวันตกของเสฉวน ผู้คนต่างรู้จัก ยุงยักษ์ สายพันธุ์ Holorusia Mikado ว่าเป็น แมลงวันขายาว หรือ เครนฟลาย (crane fly) ซึ่งส่วนใหญ่ อาศัยบริเวณที่ราบเฉิงตู และในถิ่นเทือกเขาที่ต่ำระดับกว่า 2,200 เมตร “ยุงยักษ์พวกนี้ดูน่าเกลียดน่ากลัว แต่ไม่ดูดเลือด พวกมันกินน้ำหวานจากเกสรดอกไม้เป็นอาหาร ยุงยักษ์มีช่วงชีวิตเพียงไม่กี่วันเท่านั้น” เจ้า ลี่ กล่าว นายเจ้า กล่าวอีกว่า ในโลกนี้มียุงเป็นหมื่นๆชนิด แต่มีเพียง 100 สายพันธุ์เท่านั้น ที่ดูดเลือดเป็นอาหาร และอาจสร้างปัญหาให้กับมนุษย์” ปัจจุบัน ยุงยักษ์ของนายเจ้าได้ถูกจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แมลงภาคตะวันตกจีน (the Insect Museum of West China) ในเมืองเฉิงตู ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ระดับประเทศ จัดแสดงสายพันธุ์แมลงมากกว่า 700,000 สายพันธุ์ ในจำนวนนี้ กว่า 70 สายพันธุ์ มีขนาดใหญ่ที่สุด หรือยาวที่สุดในสายพันธุ์ของพวกมัน Manager online 04.11.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร