Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

องค์การอนามัยโลกชี้มลพิษทางอากาศเป็นอันตรายต่อสุขภาพเด็ก   

ข้อมูลขององค์การอนามัยโลกระบุว่า มลพิษทางอากาศคร่าชีวิตเด็กๆ ปีละหลายแสนคน และยังทำให้เยาวชนนับร้อยล้านคนมีความเสี่ยงทั้งต่อสุขภาพร่างกาย และต่อพัฒนาการทางระบบประสาทในระดับร้ายแรง องค์การอนามัยโลกเผยแพร่รายงานที่ใช้ชื่อว่า "Air pollution and child health: Prescribing clean air" ในวันก่อนการประชุมระดับโลกเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศและสุขภาพของหน่วยงานสหประชาชาติ ที่จะมีขึ้นเป็นครั้งแรก องค์การอนามัยโลกรายงานว่า กว่า 90% ของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีหรือเกือบ 2 พันล้านคน ต้องสูดดมควันพิษเป็นประจำทุกวัน ปัญหาที่ว่านี้ล้วนเกี่ยวข้องกับมลพิษทางอากาศ โดยเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา และต่อเนื่องมาจนเข้าสู่วัยรุ่น รายงานฉบับนี้ระบุว่า หญิงมีครรภ์ที่ได้รับมลภาวะในอากาศ มักจะคลอดก่อนกำหนดและให้กำเนิดทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อย Marie Noel Brune Drisse นักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญด้านมลพิษทางอากาศขององค์การอนามัยโลก กล่าวเตือนว่า ปัญหานี้จะทำให้ทารกจำนวนมากมีปัญหาเรื่องพัฒนาการทางสมอง และส่งผลให้ IQ ต่ำลง เธอกล่าวต่อไปอีกว่า มลพิษในอากาศจะทำให้สมองหยุดการเติบโต แม้กระทั่งตอนอยู่ในครรภ์มารดา และยังอาจนำไปสู่โรคภัยไข้เจ็บที่เราอาจไม่สามารถมองเห็นได้ในทันที แต่จะตรวจพบในเวลาที่โตแล้ว เพราะการทำงานของปอดและระบบทางเดินหายใจของคนเราจะถูกเปลี่ยนแปลงในเวลาที่ร่างกายกำลังพัฒนา คุณ Drisse ผู้เชี่ยวจากองค์การอนามัยโลกผู้นี้ กล่าวต่อไปอีกว่า ปัญหามลพิษอาจนำไปสู่โรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง โรคหัวใจ รวมไปถึงการเป็นโรคมะเร็งบางชนิดในวัยผู้ใหญ่ ในปี ค.ศ. 2016 รายงานการศึกษาคาดประมาณว่า มีเด็กจำนวน 600,000 คนเสียชีวิตจากการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนล่างอย่างเฉียบพลันที่เกิดจากอากาศที่ปนเปื้อน ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นกับเด็กในประเทศที่มีรายได้น้อยและปานกลาง นอกจากนี้รายงานยังพบว่า อัตราการเสียชีวิตที่สูงที่สุดอยู่ในเด็กอายุระหว่าง 5 ถึง 14 ปี จากมลพิษทางอากาศทั้งภายในและภายนอกครัวเรือนที่เกิดขึ้นในภูมิภาคแอฟริกา อย่างไรก็ตาม รายงานยังแนะนำว่าการเปลี่ยนมาใช้เชื้อเพลิงและเทคโนโลยีสะอาดในการปรุงอาหาร และการให้ความร้อน จะสามารถช่วยชีวิตเด็กๆ ได้เป็นจำนวนมาก ส่วนมาตรการอื่นๆ ที่จะใช้ในการลดมลพิษทางอากาศ ได้แก่ การเลิกการใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล และแนะนำให้ใช้แหล่งพลังงานทดแทนที่สะอาดขึ้น ใช้รถยนต์ส่วนตัวให้น้อยลงหันมาใช้การขนส่งสาธารณะแทน ตลอดจนพัฒนาระบบการจัดการของเสียให้ดีขึ้น เจ้าหน้าที่องค์การอนามัยโลกกล่าวว่า ผลประโยชน์จากการใช้มาตรการดังกล่าวนี้จะส่งผลให้เห็นได้เกือบจะในทันที Voice of America 11.11.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร