Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เจอหลุมอุกกาบาตยักษ์ใหญ่กว่ากรุงปารีสที่กรีนแลนด์  

นักวิจัยพบหลุมอุกกาบาตยักษ์ใต้แผ่นน้ำแข็งที่กรีนแลนด์ มีขนาดใหญ่กว่ากรุงปารีส เกิดจากอุกกาบาตเหล็กพุงชนเมื่อ 12,000 ปีก่อน และยังเป็นหลุมอุกกาบาตแรกที่พบอยู่ใต้น้ำแข็งโลก รายงานที่เผยแพร่ในวารสารไซน์แอดวานซ์ (Science Advances) ระบุว่า อุกกาบาตยักษ์อยู่ในกรีนแลนด์นั้นเป็นหนึ่งใน 25 หลุมอุกกาบาตขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และยังเป็นหลุมอุกกาบาตแรกจากอุกกาบาตเหล็กที่พบในกรีนแลนด์ และยังเป็นครั้งแรกที่พบหลุมอุกกาบาตยักษ์ใต้แผ่นน้ำแข็ง เอเอฟพีรายงานว่า นักวิจัยใช้เรดาร์ขั้นสูงตรวจพบหลุมอุกกาบาตนี้อยู่ใต้ธารน้ำแข็งเฮียวาธา (Hiawatha Glacier) เบื้องต้นนักวิจัยระบุว่า การปะทะจากอุกกาบาตจนสร้างหลุมที่กว้างถึง 31 กิโลเมตรใต้แผ่นน้ำแข็งนี้น่าจะส่งแรงสะเทือนมหาศาลในแถบนี้หรืออาจจะกระจายไปทั่วโลกก็ได้ แต่ยังเร็วไปที่จะบอกเรื่องราวทั้งหมด จอห์น พาเดน (John Paden) ผู้ร่วมวิจัย ซึ่งเป็นรองศาสตราจาร์ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่มหาวิทยาลัยแคนซัส (Kansas University) ระบุว่า ตอนนั้นน่าจะมีเศษซากที่กระเด็นสู่ชั้นบรรยากาศ ซึ่งสร้างผลกระทบต่อภูมิอากาศ และทำให้น้ำแข็งละลายปริมาณมหาศาลจนเกิดกระแสน้ำจืดทะลักฉับพลันไปยังธารน้ำนาเรสสเตรทที่อยู่ระหว่างแคนาดาและกรีนแลนด์ ซึ่งอาจจะส่งผลต่อกระแสน้ำทะเลทั่วภูมิภาคดังกล่าว หลักฐานจากการสำรวจชี้ว่า การพุ่งชนของอุกกาบาตนี้น่าจะเกิดขึ้นหลังการกำเนิดของแผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์ แต่ทีมวิจัยยังคงเดินหน้าในการหาวันเวลาเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวที่แม่นยำที่สุด ซึ่งการค้นพบหลุมอุกกาบาตนี้เกิดขึ้นเมื่อปี 2015 แต่ทีมวิจัยนานาชาติต่างมุ่งมั่นศึกษาเพื่อยืนยันการพบดังกล่าว โดยการค้นพบแรกสุดนั้นอาศัยข้อมูลจากปฏิบัติการไอซ์บริดจ์ (IceBridge) ซึ่งเป็นโครงการประเมินภูมิอากาศแถบอาร์คติคขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลมากขึ้นมาตั้งแต่นั้น โดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านเรดาร์ที่ก้าวหน้ามากขึ้น เคิร์ท คจาร์ (Kurt Kjaer) จากศูนย์พันธุกรรมภูมิศาสตร์ (Center for GeoGenetics) ของพิฑิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเดนมาร์ก (Natural History Museum of Denmark) บอกว่าเป็นไปได้ยากที่จะระบุวันเวลาที่เกิดหลุมอุกกาบาตได้โดยตรง แต่มีเงื่อนไขที่หนักแน่นว่า หลุมอุกกาบาตนี้ก่อตัวหลังน้ำแข็งเริ่มปกคุลมกรีนแลนด์จึงมีอายุน้อยกว่า 3 ล้านปี และอาจจะเป็นหลุมใหม่มากประมาณ 12,000 ปี ซึ่งกำลังเข้าสู่การสิ้นสุดยุคน้ำแข็งครั้งสุดท้าย นักวิจัยยังมีแผนที่จะเก็บกู้วัตถุที่ละลายลงสู่ก้นบึ้งธารน้ำแข็ง เพื่อหาเวลาที่เกิดหลุมอุกกาบาตนี้ รวมทั้งหาผลกระทบที่อุกกาบาตลูกนี้ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก Manager online 16.11.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร