Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

สธ.ลั่น 5 ปีพัฒนาสายพันธุ์-สารสกัด “กัญชา” ได้ ยังลุยงานวิจัยได้ ไม่มีข้อห้าม หลังเจอปมสิทธิบัตร  

สธ.ลั่นขอเวลา 5 ปี พัฒนาสายพันธุ์ สารสกัด “กัญชา” ได้แน่ พร้อมทำเป็นยาจำหน่ายในประเทศ ไม่ห่วงต่างชาติขอขึ้นทะเบียน มั่นใจคุณภาพเท่ากัน ราคาถูกกว่า เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วยและเศรษฐกิจ ส่วนเรื่องสิทธิบัตรขอหารือกับพาณิชย์ ยัน รมว.พาณิชย์เห็นประโยชน์กัญชา เชื่อมีทางออก งานวิจัยยังเดินต่อได้ ไม่มีข้อห้าม ด้าน ม.รังสิตต้องร่วมมือหน่วยงานรัฐ วันนี้ (15 พ.ย.) นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กล่าวถึงกรณีคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบหลักการร่าง พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ... ฉบับเสนอโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) 44 คน ว่า ร่าง พ.ร.บ.ที่จะออกมานี้ ขอใช้คำว่าคลายล็อกกัญชา เพราะกัญชายังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 อยู่ แต่แค่สามารถนำมาใช้วิจัย ผลิตยารักษาโรคได้ เนื่องจากประเทศไทยได้ลงนามความร่วมมือกัญชายังเป็นยาเสพติดเช่นเดียวกับหลายประเทศทั่วโลก และทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียนก็ยังอยู่ในพันธะนี้ การจะปลดล็อกกัญชาแบบสุดซอยจึงยังเป็นไปไม่ได้ อย่างไรก็ตาม เพื่อประโยชน์ของคนไทยโดยคนไทย สธ.จึงเสนอ สนช.ขอเวลา 5 ปี ในการผลิต วิจัย และจำหน่ายกัญชาทางการแพทย์ ซึ่งต้องทำโดยหน่วยงานรัฐ หรือเอกชนที่ร่วมมือกับหน่วยงานรัฐเท่านั้น “ระยะเวลา 5 ปี ผมเชื่อว่าเราคงสามารถพัฒนาสายพันธุ์และสารสกัดออกมาเป็นยาเพื่อใช้ประโยชน์ได้ ถ้าต่างชาติจะเข้ามาก็ไม่ต้องกลัว เพราะเราผลิตมีคุณภาพเท่ากัน แต่ราคาถูกกว่า ตรงนี้ก็จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยเอง และส่งผลดีต่อเศรษฐกิจประเทศด้วย” นพ.ปิยะสกลกล่าว เมื่อถามถึงปัญหาการยื่นคำขอสิทธิบัตรกัญชาจากต่างชาติ และมีข้อเรียกร้องให้องค์การเภสัชกรรม (อภ.) ยื่นฟ้องร้องต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา นพ.ปิยะสกลกล่าวว่า เรื่องนี้ต้องขอไปคุยรายละเอียดก่อน ซึ่งมีรายละเอียดมาก ซึ่งกระทรวงพาณิชย์กับส่วนพัฒนาวิจัยกัญชาก็กำลังคุยกันอยู่ ทาง สนช.เองก็รับทราบปัญหา ส่วนการฟ้องร้องกันเองคงไม่ถึงขั้นนั้น ทางออกคือจะต้องไปคุยกันก่อนว่าจะทำอย่างไรเพื่อประโยชน์ของคนไทยโดยแท้จริง เมื่อถามว่าที่ขอเวลา 5 ปี เพื่อไม่ให้ต่างชาตินำเข้ายาจากกัญชาใช่หรือไม่ นพ.ปิยะสกลกล่าวว่า อันนี้เป็นคนละเรื่อง เพราะหากต่างชาติพัฒนาและผลิตกัญชาทางการแพทย์จนเสร็จและมาขอขึ้นทะเบียนเป็นเรื่องสิทธิบัตร แต่จะนำมาใช้เป็นยาก็ต้องไปขึ้นทะเบียนยากับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ของไทย ซึ่งจะพิจารณาว่าจะให้ขึ้นทะเบียนอย่างไรใช้อย่างไร Manager online 15.11.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร