Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เด็กชายคิดค้นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระบุที่ตั้งของตับอ่อนขณะทำรังสีบำบัด   

รีชีป เจน จากพอร์ทเเลนด์ รัฐโอเรกอน คว้ารางวัลชนะเลิศนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ Discovery Education 3M Young Scientist Challenge ของสหรัฐฯ ประจำปี 2018 นี้ เขาคิดค้นโปรแกรมวิเคราะห์ที่ใช้ปัญญาประดิษฐ์หรือ Artificial Intelligence เพื่อปรับปรุงการบำบัดมะเร็งตับอ่อน เจน อายุ 13 ปี กล่าวว่าในระหว่างการบำบัดผู้ป่วยด้วยการฉายรังสี โปรแกรมวิเคราะห์ที่เขาคิดค้นขึ้นสามารถตรวจหาตับอ่อนได้เร็วขึ้นเเละแม่นยำขึ้น เจนบอกว่าการค้นหาที่ตั้งของตับอ่อนด้วยสายตามนุษย์ทำได้ยากมากกว่า แม้เเต่นักรังสีวิทยาที่ได้รับการฝึกฝนอาจต้องใช้เวลาหลายชั่วโมงกว่าจะค้นหาที่ตั้งของตับอ่อนได้สำเร็จเพราะตับอ่อนมีขนาดเล็กเเละถูกกำบังด้วยอวัยวะหลายอย่าง รวมทั้งกระเพาะอาหารและยังอยู่ใกล้กับกระดูกสันหลังอีกด้วย ซึ่งทำให้การผ่าตัดและการบำบัดยากมากขึ้น เจนบอกว่าได้ตั้งโปรแกรมวิเคราะห์ระบบ AI ให้ใช้ได้กับเครื่องแสกน CT และ MRI ที่ใช้ตรวจบริเวณช่องท้องเพื่อให้โปรแกรมให้ระบบวิเคราะห์เข้าใจว่าตับอ่อนมีลักษณะอย่างไรและตั้งอยู่ในจุดใดของช่องท้อง เจน อธิบายให้ผู้สื่อข่าววีโอเอว่า โปรแกรม Pancreatic Cancer Deep Learning System ที่เขาคิดค้นขึ้นกำลังทำงานร่วมกันเครื่องตรวจ CT สแกนที่กำลังตรวจภายในช่องท้องของคนไข้และขณะที่คนไข้หายใจเข้าออก ตับอ่อนก็จะเคลื่อนตัวตามไปด้วย เจนบอกว่า ระหว่างการฉายรังสีบำบัดมะเร็งตับอ่อนที่ใช้เครื่องสแกน MRI เป็นตัวชี้นำ แพทย์สามารถใช้โปรแกรมวิเคราะห์ที่เขาคิดค้นขึ้นควบคู่ไปด้วยเพื่อช่วยระบุจุดที่ตั้งของตับอ่อนได้อย่างแม่นยำ เพื่อช่วยให้ฉายรังสีไปยังตับอ่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลดความผิดพลาดที่รังสีจะฉายไปโดนอวัยวะอื่นๆ หรือเซลล์ที่เเข็งเเรงลงได้ มะเร็งตับอ่อนเป็นมะเร็งที่ไม่พบบ่อยนัก แต่มักทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต มะเร็งชนิดโตช้าเเละเนื่องจากจุดที่ตั้งของตับอ่อนค่อนข้างลึกลับซับซ้อน จึงมักตรวจไปไม่พบก้อนมะเร็งในระยะเริ่มต้น ผู้ป่วยจะไม่ปรากฏอาการจนกระทั่งมะเร็งได้ลุกลามไปยังอวัยวะอื่นๆ เเล้ว รีชีป เจน วางเเผนว่าจะใช้เงินรางวัล 25,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ ที่เขาได้รับ พัฒนาอุปกรณ์ที่เขาคิดค้นขึ้นซึ่งยังเป็นต้นแบบอยู่ในขณะนี้ให้อุปกรณ์ตัวจริงที่นำไปใช้งานได้และเขาหวังว่าต่อไปในอนาคตจะสามารถร่วมมือกับโรงพยาบาลหรือบริษัทเอกชนเพื่อผลิตอุปกรณ์นี้ออกมาวางตลาด Voice of America 18.11.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร