Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

บริษัทอังกฤษคิดค้นวิธีแปลงขยะพลาสติกเป็นน้ำมันเชื้อเพลิง   

ปัจจุบันยังมีการนำขยะพลาสติกไปหมุนเวียนใช้ใหม่น้อยมาก เเละมักถูกทิ้งลงในหลุมฝังกลบขยะ เเละบางส่วนของขยะพลาสติกก็ลงไปอยู่ในมหาสมุทร แต่ตอนนี้ บริษัทรีไซเคิลแห่งใหม่ในอังกฤษ ได้คิดค้นวิธีนำขยะพลาสติกมาหมุนเวียนใช้ใหม่ เอเดรียน ฮอว์เวิร์ธ แห่งบริษัท Recycling Technologies กล่าวว่า มีความต้องการใช้สินค้าที่ทำจากวัสดุรีไซเคิลกันอย่างมาก และทางบริษัทกำลังพัฒนาวิธีนำขยะพลาสติกไปผลิตเป็นเชื้อเพลิง บริษัท Recycling Technologies ทำการย่อยพลาสติกเล็กลงเเละนำไปผ่านกระบวนการให้กลายเป็นน้ำมันเชื้อเพลิง หรือเป็นวัตถุดิบเพื่อนำไปผลิตเป็นพลาสติกชิ้นใหม่ เขากล่าวว่า ทางบริษัทนำพลาสติกไปต้มเหมือนซุปไฮโดรคาร์บอน หลังจากนั้นจะกลั่นในหลายระดับความร้อน โดยในระดับอุณหภูมิที่ร้อนที่สุด ไขจะถูกแยกออกมา เเละเมื่อกลั่นในระดับความร้อนที่ลดลงมาเล็กน้อย ก็จะได้น้ำมันน้ำหนักเบา เเละหากกลั่นต่อไปในระดับที่ร้อนน้อยกว่าเดิมอีกก็จะได้น้ำมันดิบที่มีความหนาเเน่นสูง ส่วนที่เหลือจะกลั่นให้กลายเป็นแนฟทา (naphtha) ซึ่งเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งที่ติดไฟง่าย ส่วนไฮโดรคาร์บอนที่เหลือจากการกลั่นจะใช้เป็นพลังงานแก่กระบวนการกลั่น ขั้นตอนที่บริษัทใช้นี้ช่วยผลิตน้ำมันดิบที่มีความหนาเเน่นสูง ที่เหมาะกับการใช้เป็นพลังงานเชื้อเพลิงแก่เรือทะเล ฮอว์เวิร์ธ กล่าวว่า เราเรียกผลิตภัณฑ์ที่ได้ว่าน้ำมันดิบสะอาด เพราะมีซัลเฟอร์ในปริมาณเพียงเล็กน้อยจนเกือบไม่มีเลย ซึ่งเหมาะกับกฏใหม่ที่กำหนดให้น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้กับเรือมีระดับซัลเฟอร์ในปริมาณที่ต่ำทั่วโลกเเละยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าอีกด้วย ในขณะนี้ ทางบริษัท Recycling Technologies ในอังกฤษแห่งนี้ สามารถรีไซเคิลพลาสติกได้ปีละราว 7,000 ตัน เเต่ทางบริษัทคิดว่าจะสามารถเพิ่มกำลังการผลิตได้อีกอย่างรวดเร็ว ฮอว์เวิร์ธ กล่าวว่า ทางบริษัทกำลังออกเเบบเครื่องกลั่นที่ใช้เวลาติดตั้งสี่วันเท่านั้น และนี่ไม่ใช่โรงกลั่นน้ำมัน เเต่เป็นเครื่องกลั่นที่นำไปติดตั้งเพื่อใช้งานที่ใดก็ได้ ทางบริษัทได้ตั้งเป้าที่ค่อนข่างสูงว่าจะขายเครื่องรีไซเคิลพลาสติกเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงนี้ให้ได้ 1,300 เครื่องทั่วโลก ในช่วงสิบปีข้างหน้า เเละคาดว่าจะสามารถรีไซเคิลพลาสติกได้ปีละ 9 ล้านตันทั่วโลก Voice of America 3.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร