Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

มนุษย์อวกาศเตือนหยุดทำร้ายโลกก่อนจะอาศัยไม่ได้  

มนุษย์อวกาศเตือนหยุดทำร้ายโลกไปมากกว่า ก่อนที่เราจะอาศัยอยู่ไม่ได้ พร้อมชี้เราจำเป็นต้องตรวจวัดสุขภาพของโลกอย่างจริงจัง ถึงผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และระบุด้วยว่า เรากำลังเผชิญปัญหาที่ยากที่สุดเท่าที่เคยเจอ เม เจมิสัน (Mae Jemison) มนุษย์อวกาศจากองค์การบริหารหารบนอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) และเป็นหญิงอเริกันเชื้อสายแอฟริกันคนแรกที่ขึ้นไปอวกาศ ได้แสดงความเห็นเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนในการประชุม COP24 ของสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ในโปแลนด์ เมื่อวันที่ 4 ธ.ค.2018 ที่ผ่านมา ซึ่งมีตัวแทนจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมเกือบ 200 ประเทศ เจมิสันกล่าวถึงภาวะโลกร้อนว่าเป็นปัญหายากที่สุดที่มนุษย์เคยเผชิญ ส่วนประเด็นที่ผู้คนมักพูดถึงการพิทักษ์รักษาโลกนั้น มักจะเข้าใจคลาดเคลื่อน เพราะจริงๆ แล้วไม่ใช่การรักษาโลก แต่เป็นการสร้างความเชื่อมั่นว่า เราจะไม่เดินหน้าทำลายโลกเกินไป จนไม่สามารถรองรับการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่อไปได้ “ชาติทั้งหลายต้องอาศัยการประชุมของสหประชาชาตินี้ เพื่อตกลงในกฎเกณฑ์ที่มีผลผูกมัดเมื่อ 3 ปีที่แล้วที่ปารีส ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยโลก ไม่ให้เพิ่มสูงเกิน 2 องศาเซลเซียม และให้เพิ่มขึ้นอยู่ในระดับปลอดภัยที่ 1.5 องศาเซลเซียส หากทำได้” เจมิสันระบุ ในทางวิทยาศาสตร์นั้นได้แสดงออกอย่างชัดเจน โดยผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิอากาศของยูเอ็นที่ทำงานโดยเป็นอิสระระบุว่า การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากเชื้อเพลิงฟอสซิลนั้นจะต้องหั่นลงไปครึ่งหนึ่งภายในปี 2030 หากต้องการให้บรรลุเป้าหมายในข้อตกลงปารีส ทว่าสถานการณ์การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปัจจุบันนั้นได้เพิ่มขึ้นต่อเนื่องนับแต่มีข้อตกลงปารีสเมื่อปี 2015 ซึ่งทำให้เราเผชิญกับการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในระดับที่ผู้เชี่ยวชาญเตือนว่าจะส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต แต่การเมืองเบื้องหลังการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนั้นยุ่งยากซับซ้อน เพราะข้อตกลงในการประชุม COP24 นั้นจำเป็นต้องเป็นได้รับความพึงใจจากทุกฝ่าย ทั้งชาติมหาอำนาจอย่างจีนที่เป็นชาติหลักในการปลดปล่อยมลพิษ และเกาะขนาดเล็กๆ ที่มีความเสี่ยงได้รับผลกระทบจากระดับน้ำทะเลที่เพิ่มขึ้น เจมิสันอาศัยประสบการณ์เฉพาะตัวที่ได้เมื่อครั้งเป็นลูกเรือกระสวยอวกาศเมื่อปี 1992 วางความขัดแย้งทางการเมืองออกจากอนาคตของมนุษยชาติที่มีโลกเป็นบ้านเพียงหลังเดียว เธอบอกว่ามีภาพจำเมื่อครั้งมองออกมานอกหน้าต่างกระสวยอวกาศ และเห็นโลกสำน้ำเงินที่มีเพียงชั้นบรรยากาศบางๆ ทอแสงประกาย “เราต้องทำให้เรื่องนี้ชัดเจน นี่เป็นการพิจารณาอย่างจริงจังครั้งแรก เราไม่ได้ต้องการเรา แต่เราต้องการโลก และแม้จะฉันจะอยากไปดาวอังคารมากเท่าไหร่ แต่ก็ไม่ใช่แผนสองสำหรับอารยธรรมและเผาพันธุ์ของเรา เราต้องหาคำตอบในเรื่องนี้” เจมิสันกล่าว Manager online 05.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร