Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

โลกอาจขาดแคลนสารอินซูลินเทียมในอนาคตเพราะมีคนเป็นเบาหวานมากขึ้น   

Harun Abdalla เป็นหนึ่งในผู้ป่วยโรคเบาหวานประเภทที่ 2 กว่า 400 ล้านคนทั้งหมดทั่วโลก โรคเบาหวานประเภทที่สองเกิดจากอาหารการกินเเละวิถึชีวิตที่ขาดการออกกำลังกาย Abdalla กล่าวว่าตอนที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นเขาโรคเบาหวานประเภทที่สอง เขารู้สึกว่าทุกอย่างในชีวิตจบลงแล้ว Abdalla อาศัยในสลัม Kibera สลัมที่ใหญ่ที่สุดในแอฟริกา เขาตกงานหลังจากป่วยเป็นเบาหวานในปี 2006 หรือ 12 ปีที่แล้วเเละแทบไม่มีเงินพอซื้ออินซูลินเทียมมาบำบัดอาการของโรค เขาไม่สามารถรับประทานอาหารตามที่แพทย์แนะนำได้เพราะขาดรายได้ Abdalla กล่าวว่าเขารู้สึกหมดคุณค่าในชีวิต คนที่อาศัยในสลัมแห่งนี้เกือบทุกคนไม่มีเงินพอที่ซื้อยารักษาเบาหวานได้ ทางการได้ตั้งศูนย์สุขภาพขึ้นเพื่อช่วยออกค่ายาเบาหวานให้ประชาชนส่วนหนึ่ง แต่จำนวนผู้ป่วยเบาหวานกำลังเพิ่มจำนวนขึ้นและปัจจัยสำคัญที่ทำให้คนเป็นโรคเบาหวานประเภทที่สองคือการมีน้ำหนักตัวเกิน Irene Aoko เจ้าหน้าที่การแพทย์ที่ศูนย์สุขภาพในสลัม Kibera กล่าวว่าคนในสลัมมีวิถีชีวิตที่ขาดการออกกำลังกายเเละอาหารที่รับประทานกันในสลัมก็ไม่ดีกับสุขภาพ ทำให้เสี่ยงต่อโรคเบาหวานกันมากขึ้น ผู้สื่อข่าววีโอเอรายงานวารสารการเเพทย์เดอะเเลนเซ็ทชี้ว่าจำนวนผู้ใหญ่ที่เป็นโรคเบาหวานประเภทที่สองทั่วโลก คาดว่าน่าจะเพิ่มสูงขึ้นเป็น 511 ล้านคนภายในปี ค.ศ. 2030 หรือ อีก 12 ปีข้างหน้า และ Dr. Sanjay Basu หัวหน้าผู้ร่างรายงานผลการวิจัยนี้กล่าวว่าผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่สองส่วนมากในประเทศเเอฟริกาทางใต้ของทะเลทรายซาฮาร่าจะเป็นคนที่เสี่ยงมากที่สุดที่จะขาดเเคลนสารอินซูลินเทียม เขากล่าวว่าเเน่นอนว่าเอเชียเเละเเอฟริกาจะเป็นจุดที่ขาดเเคลนสารอินซูลินเทียมมากที่สุด ซึ่งตรงข้ามกับที่เราคาดคิดเนื่องจากลักษณะอาหารการกินเเละวิถีชีวิตเปลี่ยนไปทั่วโลก ทำให้มีคนในเอเชียเเละแอฟริกาเป็นเบาหวานประเภทที่ 2 เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วในเวลาเดียวกันกับที่เริ่มมีปริมาณสารอินซูลินรักษาโรคลดลง มีบริษัทยา 3 เเห่งที่ผลิตสารอินซูลินรักษาเบาหวานได้ 96 เปอร์เซ็นต์ของทั้งหมดเเละยังไม่รู้ว่าจะสามารถเพิ่มปริมาณการผลิตให้เพียงพอแก่ความต้องการที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตได้หรือไม่ Dr. Sanjay Basu หัวหน้าผู้ร่างรายงานผลการวิจัยยอมรับว่าการขาดเเคลนสารอินซูลินรักษาเบาหวานอย่างรุนแรงที่เขาคาดการณ์อาจจะไม่เกิดขึ้นก็ได้ และเเม้ว่าการศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจากคนที่เป็นเบาหวานประเภทที่ 2 ราว 60 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนทั้งหมดทั่วโลก ทีมนักวิจัยไม่ได้รวมเอาปัจจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางประชากรในแอฟริกาเข้าไว้ในการวิเคราะห์ด้วย นอกจากนี้การปรับเปลี่ยนด้านนิสัยการกินและการหันไปออกกำลังกายกันมากขึ้น อาจจะมีผลให้ความต้องการใช้สารอินซูลินเทียมรักษาโรคลดลงได้ Voice of America 10.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร