Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ยานอวกาศของนาซาเยือนดาวเคราะห์น้อยโบราณ  

เมื่อวันจันทร์ที่ 3 พ.ย. ยานอวกาศของนาซาได้ไปถึงดาวเคราะห์น้อย “เบนนู” ซึ่งนับว่าเป็นแขกที่ไปเยือนครั้งแรกในรอบหลายพันล้านปี ยานสำรวจ Osiris-Rex โคจรห่างจากหินอวกาศที่มีรูปทรงเหมือนเพชรเป็นระยะทาง 19 กิโลเมตร (12 ไมล์) และจะเข้าใกล้มากกว่านี้และเข้าไปในวงโคจรรอบดาวเคราะห์น้อยเบนนู ในวันที่ 31 ธันวาคม ยังไม่เคยมียานอวกาศลำไหนที่ไปโคจรรอบวัตถุในจักรวาลที่มีขนาดเล็กนี้เลย เป็นครั้งแรกที่สหรัฐพยายามรวบรวมตัวอย่างดาวเคราะห์น้อยเพื่อนำกลับสู่โลก ซึ่งมีเพียงญึ่ปุ่นประเทศเดียวเท่านั้นที่เคยประสบความสำเร็จในภารกิจนี้ บรรดาผู้ควบคุมการบินต่างปรบมือแสดงความยินดีเมื่อได้รับการยืนยันว่ายานสำรวจ Osiris-Rex ไปถึงดาวเคราะห์น้อยเบนนูแล้ว ดาวเคราะห์น้อยเบนนูอยู่ห่างออกไปจากโลกประมาณ 122 ล้านกิโลเมตร (76 ล้านไมล์) ต้องใช้เวลาเจ็ดนาทีในการสื่อสารจากยานอวกาศไปยังหน่วยควบคุมการบินของบริษัท Lockheed Martin ที่เมือง Littleton รัฐโคโลราโด ซึ่งเป็นที่ตั้งของบริษัทที่สร้างยานอวกาศนี้ขึ้น ดาวเคราะห์น้อยเบนนูมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1,600 ฟุต (500 เมตร) ยานอวกาศ ซึ่งมีขนาดเท่ากับรถยนต์อเนกประสงค์ (SUV) นี้จะตามติดดาวเคราะห์น้อยเป็นเวลาหนึ่งปีก่อนที่จะตักเอาก้อนหินเล็กๆ เป็นตัวอย่างเพื่อนำกลับไปสู่โลกในปี พ.ศ. 2566 นักวิทยาศาสตร์มีความกระตือรือร้นที่จะศึกษาสสารจากดาวเคราะห์น้อยที่มีคาร์บอนสูงเช่นเบนนู ซึ่งอาจถือเป็นหลักฐานย้อนหลังไปถึงจุดกำเนิดของระบบสุริยะจักรวาลเมื่อสี่พันห้าร้อยล้านปีก่อน หรือเรียกว่าเป็นแคปซูลเวลาทางด้านดาราศาสตร์นั่นเอง ยานสำรวจ Osiris-Rex มีจุดมุ่งหมายในการเก็บตัวอย่างฝุ่นและก้อนหินเล็กอย่างน้อย 60 กรัมหรือ 2 ออนซ์ ยานอวกาศนี้จะไม่ลงจอด แต่จะใช้แขนกลที่มีความยาว 10 ฟุต (3 เมตร) เพื่อเก็บตัวอย่างบนพื้นผิวของดาวเคราะห์น้อยเบนนูในปีพ. ศ. 2563 และนำภาชนะเก็บตัวอย่างจะออกเดินทางมุ่งหน้ากลับสู่โลกในปี พ.ศ. 2564 NASA เคยนำอนุภาคของฝุ่นผงดาวหางและลมสุริยะกลับมายังโลก แต่ยังไม่เคยนำตัวอย่างดาวเคราะห์น้อยกลับมา ญี่ปุ่นได้พยายามนำอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก จากภารกิจดาวเคราะห์น้อยครั้งแรกที่มีชื่อว่า “ฮายาบูซ่า” กลับมายังโลกเมื่อปี พ.ศ. 2553 “เบนนู” ถือเป็นดาวเคราะห์น้อยที่อาจเป็นอันตราย คืออาจพุ่งใส่โลกได้ในอนาคต และที่เลวร้ายที่สุดดาวเคราะห์น้อยเบนนูอาจสร้างหลุมอุกกาบาตขนาดใหญ่บนพื้นโลกในช่วงระยะเวลา 150 ปีนับจากนี้ได้ นักวิทยาศาสตร์เชื่อมั่นว่า ยิ่งพวกเขาเรียนรู้เกี่ยวกับดาวเคราะห์น้อยมากขึ้นเท่าไหร่ โลกของเราที่มีอุปกรณ์ครบครัน ก็จะหลีกเลี่ยงความหายนะต่างๆ ได้มากขึ้นเท่านั้น ชื่อของทั้งยานอวกาศและดาวเคราะห์น้อยมาจากเทพนิยายอียิปต์ โอซิริสคือเทพแห่งชีวิตหลังความตาย ส่วนเบนนูเป็นตัวแทนของนกกระสาและการสร้างสรรค์ Voice of America 16.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร