Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นำร่องคุมผักตบด้วยชีววิธีไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม  

กทม. จับมือ วช. และ ม.เกษตร กำแพงแสน เปิดกิจกรรม KICK OFF โครงการต้นแบบทดลองและสาธิต การควบคุมผักตบชวาโดยชีววิธี ใช้เชื้อราทำลายเซลล์เนื้อเยื่อใบผักตบชวา นางศิลปสวย ระวีแสงสูรย์ ปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นประธานพิธีเปิดกิจกรรม (KICK OFF) โครงการต้นแบบทดลองและสาธิตการควบคุมผักตบชวาโดยชีววิธี โดยมี ดร.อาร์ม อันอาตม์งาม หัวหน้าโครงการการศึกษาคลองต้นแบบการควบคุมการระบาดของผักตบชวาในคลองเปรมประชากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นายอรรถเศรษฐ์ เพชรมีศรี ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายพานุรักษ์ กลั่นนุรักษ์ รองผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ นางสาววรรณดี สนชัย ผู้อำนวยการเขตดอนเมือง นายวุฒิพงษ์ มนัส ผู้อำนวยการเขตลาดพร้าว พร้อมด้วยข้าราชการ เจ้าหน้าที่สำนักการระบายน้ำ สำนักงานเขตดอนเมือง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมพิธี ณ บริเวณคลองบ้านใหม่ แขวงทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง ทั้งนี้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ได้ดำเนินโครงการการศึกษาคลองต้นแบบการควบคุมการระบาดของผักตบชวาในคลองเปรมประชากรโดยชีววิธี สำหรับการจัดกิจกรรม (KICK OFF) โครงการต้นแบบและสาธิตการควบคุมผักตบชวาโดยชีววิธี เพื่อสาธิตการฉีดพ่นเชื้อรากำจัดผักตบชวาด้วยชีววิธี ควบคุมการระบาดของผักตบชวาในคลองเปรมประชากร ระยะทางประมาณ 50 กม. จากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาถึงกรุงเทพมหานคร ด้วยเชื้อรา Myrothecium roridum ซึ่งการใช้เชื้อรากำจัดผักตบชวาเป็นการเพิ่มทางเลือกด้วยวิธีธรรมชาติ ใช้สิ่งมีชีวิตควบคุมสิ่งมีชีวิต รวมทั้งพัฒนาสารกำจัดวัชพืชจากเชื้อรา (Mycoherbicide) Myrothecium roridum สูตรต่างๆ (Formulation) สำหรับควบคุมการระบาดของผักตบชวาในแหล่งน้ำ ตลอดจนเป็นการสร้างคลองต้นแบบ (เปรมประชากรโมเดล) สำหรับการควบคุมผักตบชวา โดยชีววิธี นางศิลปสวย กล่าวว่า ผักตบชวาเป็นวัชพืชน้ำที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย เป็นพืชที่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี และสามารถขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว ปัญหาสำคัญของการระบาดของผักตบชวาคือกีดขวางทางระบายน้ำ ทำให้ออกซิเจนระบายน้ำลดลง ส่งผลกระทบต่อสัตว์และพืช ในแต่ละปีรัฐบาลต้องสูญเสียงบประมาณหลายล้านบาทในการขนย้ายผักตบชวาออกจากแหล่งน้ำ การควบคุมและขนย้ายสามารถทำได้ด้วยเครื่องจักร กำลังคน และสารเคมี อย่างไรก็ตามวิธีดังกล่าวไม่สามารถกำจัดผักตบชวาอย่างได้ผลและยั่งยืน การควบคุมโดยชีววิธีจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ช่วยลดงบประมาณในการกำจัดผักตบชวาและความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรม (KICK OFF) โครงการต้นแบบและสาธิตการควบคุมผักตบชวาโดยชีววิธี เป็นความร่วมมือระหว่างกรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ในการควบคุมการระบาดของผักตบชวาในคลองเปรมประชากร ทั้งนี้การควบคุมผักตบชวาโดยชีววิธีเป็นการใช้วิธีจากธรรมชาติ ด้วยเชื้อราของผักตบชวา ซึ่งเชื้อราจะเข้าทำลายเซลล์เนื้อเยื่อของใบและส่วนอื่นๆ ของผักตบชวา จนเกิดการไหม้ภายใน 48 ชั่วโมง โดยชีววิธีจะไม่เป็นอันตรายต่อระบบนิเวศน์และเซลล์ผิวหนังมนุษย์ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการระบายน้ำให้ดีขึ้นอีกด้วย Dailynews 18.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร