Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยคิดค้นวิธีตรวจมะเร็งแบบใหม่ให้ผลภายใน 10 นาที   

ผลการวิจัยที่เพิ่งตีพิมพ์ไปไม่นานมานี้ในวารสาร Nature Communications ระบุว่า วิธีตรวจหาเซลล์มะเร็งวิธีใหม่นี้พัฒนาขึ้น หลังจากทีมนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ค้นพบว่า เซลล์มะเร็งนั้นหากอยู่ในน้ำจะสร้างโครงสร้างของดีเอ็นเอที่มีลักษณะเฉพาะตัวซึ่งแตกต่างไปจากปกติ และถือเป็นวิธีการตรวจหาเซลล์มะเร็งได้เเต่เนิ่นๆ โดยตรวจได้ผลเร็วกว่าการตรวจมะเร็งทุกวิธีที่ใช้กันในปัจจุบัน ศาสตราจารย์ Matt Trau กล่าวในการแถลงข่าวว่า การค้นพบว่าโมเลกุลของดีเอ็นเอในเซลล์มะเร็งเกาะติดกันในลักษณะที่แตกต่างไปจากโมเลกุลของดีเอ็นเอของเซลล์ที่ปกติดี โดยถือเป็นความคืบหน้าครั้งสำคัญมาก การตรวจไม่สร้างความเจ็บปวดเเก่ผู้ป่วยและใช้ตรวจมะเร็งได้ทุกประเภท ศาสตราจารย์ Trau กล่าวว่า การค้นพบนี้ได้นำไปสู่การคิดค้นและพัฒนาอุปกรณ์ตรวจหาเซลล์มะเร็งที่ราคาไม่เเพงและพกพาได้ ซึ่งคาดว่าในที่สุดแล้วจะนำไปใช้เป็นอุปกรณ์วินิจฉัยมะเร็งที่ใช้ได้กับโทรศัพท์มือถือ ด้าน Abu Sina สมาชิกของทีมนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ กล่าวว่า การค้นพบนี้อาจจะช่วยแปลงโฉมหน้าการตรวจคัดกรองมะเร็งในอนาคต เขากล่าวว่า มะเร็งเป็นโรคที่มีความซับซ้อน เเละในปัจจุบัน มะเร็งทุกชนิดต้องใช้วิธีทดสอบและระบบคัดกรองที่แตกต่างกัน และเรายังไม่มีวิธีการตรวจคัดกรองแบบรวมๆ ที่ช่วยตรวจหามะเร็งได้ และทีมนักวิจัยต้องการให้วีธีตรวจมะเร็งนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจเช็คร่างกายทั่วไป ตลอดเวลาที่ผ่านมา บรรดานักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกได้พยายามพัฒนาวิธีการตรวจมะเร็งที่สามารถตรวจพบโรคได้เเต่เนิ่นๆ เพราะการตรวจพบมะเร็งได้เเต่เนิ่นๆ จะช่วยเพิ่มโอกาสที่การบำบัดประสบความสำเร็จ การตรวจมะเร็งแบบใหม่ที่ได้ผลตรวจภายใน 10 นาทีนี้พัฒนาในออสเตรเลีย และยังจำเป็นต้องมีการทดลองใช้กับคนครั้งใหญ่เสียก่อน แต่ทีมนักวิจัยชี้ว่ามีสัญญาณทางบวกหลายอย่าง ทีมนักวิจัยได้ทดลองตรวจหามะเร็งในตัวอย่างเนื้อเยื่อและเลือด 200 ตัวอย่าง เเละผลการตรวจมีความเเม่นยำถึงร้อยละ 90 โดยใช้ตรวจหามะเร็งทรวงอก มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งลำไส้ มะเร็งต่อมน้ำเหลือง และคาดว่าน่าจะใช้ตรวจมะเร็งทุกประเภทได้ ผู้เชี่ยวชาญชี้ว่า มะเร็งทำให้มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในดีเอ็นเอของเซลล์ โดยมีลักษณะการก่อตัวของโมเลกุลที่เรียกว่า mythyl groups ซึ่งต่างไปจากเซลล์ที่แข็งแรงดี และวิธีตรวจเเบบใหม่นี้สามารถตรวจพบลักษณะการเกาะตัวที่ผิดเพี้ยนนี้เมื่อนำเซลล์ไปใส่ในตัวทำละลาย อาทิ น้ำ นักวิจัยกล่าวว่า หากพิสูจน์ว่ามีประสิทธิภาพ วิธีตรวจมะเร็งเเบบใหม่นี้จะมีประโยชน์มากในการตรวจมะเร็งตั้งเเต่เนิ่นๆ ในพื้นที่ชนบทห่างไกล เทคโนโลยีที่ช่วยในการอ่านผลการตรวจแบบอิเลคทรอนิคส์ก็พร้อมเเล้ว โดยเพียงเเค่ต่อเข้ากับโทรศัพท์มือถือก็ใช้ได้ นักวิจัยชี้ว่า ข้อดีของการตรวจมะเร็งวิธีนี้คือเป็นอุปกรณ์อย่างง่าย แทบไม่ต้องใช้ทรัพยากรใดๆ เลย นอกจากนี้ ทีมนักวิจัยยังคาดว่าอาจนำไปใช้ตรวจเฝ้าระวังการหวนคืนของมะเร็งได้ด้วย แม้ยังไม่ได้ทดลองในเรื่องนี้ก็ตาม ในขั้นต่อไป ทีมนักวิจัยออสเตรเลียจะทำการทดลองกับมนุษย์ เพื่อศึกษาว่าจะสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งได้ล่วงหน้ามากเเค่ไหน เเละการตรวจนี้สามารถนำไปใช้วัดประสิทธิภาพของการบำบัดมะเร็งได้หรือไม่ นอกจากนี้ ทีมนักวิจัยยังจะศึกษาด้วยว่ามีความเป็นไปได้มากแค่ไหนที่จะใช้สารคัดหลั่งจากร่างกายชนิดต่างๆ ในการตรวจหามะเร็งประเภทต่างๆ ตั้งเเต่ระยะเริ่มต้นจนถึงระยะลุกลาม Voice of America 17.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร