Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

แนวคิด “กัญชา” รักษาโรค อาจเป็นสูตร “ค็อกเทล” ไม่ใช่สารสกัดเดี่ยว เหมือนแพทย์แผนไทยที่ดูแลแบบองค์รวม  

อภ. เผยแนวคิด “กัญชา” รักษาโรค เริ่มหันไปทางสูตร “ค็อกเทล” ใช้สารหลายตัวจากดอกกัญชารักษา นักวิชาการเกษตร ชี้ งานวิจัยระดับโลกพบใช้ดอกสกัดรักษามะเร็งในหนูได้ แต่ใช้สารเดี่ยวรักษาไม่ได้ และต้องเป็นเฉพาะสายพันธุ์ ชี้ เหมือนแพทย์แผนไทยที่เป็นองค์รวม ต้องค้นหาตำรับแต่ละสายพันธุ์ นพ.โสภณ เมฆธน ประธานกรรมการองค์การเภสัชกรรม (บอร์ด อภ.) กล่าวถึงการนำ “กัญชา” มาใช้รักษาโรค ว่า ขณะนี้การนำกัญชามาใช้ทางการแพทย์มี 2 แนวคิด คือ 1. คิดแบบแพทย์แผนปัจจุบัน ดูว่าสารสำคัญในกัญชาคืออะไร เช่น สาร THC และ CBD ที่จะต้องมีการพิสูจน์ว่า นำมาใช้บำบัดรักษาโรคอะไรได้ เหมือนกับยาเคมีปัจจุบันจะรู้ว่าตัวออกฤทธิ์คืออะไร และ 2. แนวคิดแบบองค์รวม คือ กัญชาไม่ได้มีแค่ THC และ CBD แต่ยังมีสารอื่นๆ อีก แล้วอาจจะเป็นการผสมกันเหมือนที่เรียกว่า ค็อกเทลมากกว่าหรือไม่ ซึ่งสารหลายๆ ตัวในกัญชาผสมกันแล้วถึงจะออกฤทธิ์ในการรักษาโรค “อนาคตเริ่มออกมาแล้ว พันธุ์นี้มีสารสำคัญอย่างนี้รักษามะเร็งชนิดหนึ่ง แต่หากอีกสายพันธุ์หนึ่งอาจจะรักษามะเร็งอีกชนิดหนึ่ง เพราะอย่างโรคพาร์กินสันจะต้องใช้อัตราส่วน THC ต่อ CBD ในการรักษาที่อัตราส่วน 1:1 แต่ของไทยปรากฏว่า กัญชาเรามี THC สูง แต่ปรากฏว่า บางคนบอกว่าก็ใช้ได้ผลเหมือนกัน ซึ่งตอนนี้เมื่อมี 2 แนวคิดเช่นนี้ก็ต้องมาดูว่าเขาวิจัยอออกมาเป็นอย่างไร” นพ.โสภณ กล่าว ผศ.ดร.วิเชียร กีรตินิจกาล อาจารย์คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในฐานะผู้วิจัยพัฒนาสายพันธุ์กัญชาทางการแพทย์ให้แก่ อภ. กล่าวว่า ล่าสุด มีความเชื่อว่าต้องใช้กัญชาทั้งดอก และต้องแล้วแต่พันธุ์ด้วย ไม่ใช่ว่าสกัดเป็นสารเดี่ยวๆ มารักษา มีวารสารวิชาการล่าสุดที่ชมเชยว่าเป็นวารสารแห่งปีของสเปนออกมา พบว่า การใช้สารสกัดกัญชาเดี่ยวๆ รักษามะเร็งเต้านมในหนูไม่สำเร็จ แต่พอสกัดทั้งดอกและต้องเป็นพันธุ์เฉพาะพันธุ์นี้ด้วย ปรากฏว่า เห็นผลชัด เลยมีความเชื่อว่าต่อไปนี้จะต้องเฉพาะเลยว่าเป็นพันธุ์นี้แล้วต้องสกัดทั้งดอก เพราะกัญชาไม่ได้มีแค่สาร THC และ CBD แต่ยังมีตัวอื่นด้วย มองคล้ายๆ ก็เหมือนแพทย์แผนไทย ในต้นกัญชาแต่ละต้นเหมือนกับเป็นองค์รวม เราก็ต้องหาตำรับในแต่ละต้นให้ได้ Manager online 18.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร