Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

MIT พบวิธีหดวัตถุจิ๋วระดับนาโน ไม่ต้องง้อ “ไฟฉายย่อส่วน”  

สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาชูเซตส์ หรือ MIT ประกาศความสำเร็จในการย่อส่วนสิ่งของจนเล็กจิ๋วระดับนาโน ซึ่งต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ จึงจะมองเห็น ไม่ต้องง้อไฟฉายย่อส่วนของโดราเอมอน เพราะสามารถใช้อุปกรณ์เลเซอร์พื้นฐาน ถ่ายทอดโครงสร้างของสิ่งของและย่อจนเล็กจิ๋วเหลือ 1 ใน 1,000 ของขนาดจริง ศาสตราจารย์เอ็ดเวิร์ด บอยด์เดน (Edward Boyden) ศาสตราจารย์ด้านเทคโนโลยีประสาทวิทยา ผู้นำการวิจัยครั้งนี้ระบุว่า เทคโนโลยีย่อส่วนนี้มีชื่อเรียกว่า “อิมโพลชัน แฟบริเคชัน” (implosion fabrication) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับวัสดุใดก็ได้ ซึ่งอาจจะทำให้เกิดการพัฒนากล้องจุลทรรศน์ขนาดเล็ก และเลนส์โทรศัพท์มือถือ รวมถึงการสร้างหุ่นยนต์ขนาดเล็ก ที่จะช่วยอำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน ศาสตราจารย์เอ็ดเวิร์ด มองว่า หลายปีที่ผ่านมา ชาวโลกพยายามคิดค้นเทคโนโลยีที่ดีกว่า เพื่อผลิตวัสดุนาโนที่มีขนาดเล็ก ทำให้เชื่อว่ามีหลายสิ่งที่จะได้ประโยชน์จากการพัฒนาวัสดุขนาดเล็ก อย่างไรก็ตาม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีนี้อาจไม่เหมือนกับไฟฉายย่อส่วนของโดราเอมอนที่เน้นย่อสิ่งของใหญ่ เพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน แต่ MIT เชื่อว่าจะตอบโจทย์นักวิทยาศาสตร์ที่กำลัหาวิธีพัฒนาหุ่นยนต์จิ๋วเพื่อค้นหาเซลล์มะเร็งในร่างกายมนุษย์ จุดนี้นักวิจัย MIT ย้ำว่า หุ่นยนต์ที่ได้จากเทคโนโลยีนี้จะมีขนาดเล็กกว่าไมโครชิป เนื่องจากเทคโนโลยีนี้สามารถใช้พัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ระดับนาโนชิปได้สบาย จุดสำคัญของเทคโนโลยีนี้คือเทคนิคที่ทันสมัยแต่เรียบง่ายของ MIT ที่ใช้เลเซอร์ และเจลดูดซับ ซึ่งเป็นเจลเดียวกับที่ใช้ในผ้าอ้อมเด็ก ทั้ง 2 ส่วนเป็นวัสดุชีววิทยาที่ห้องปฏิบัติการด้านวิศวกรรมมักมีอยู่แล้ว หลักการทำงานของเทคโนโลยีนี้เริ่มด้วยการยิงเลเซอร์แล้วสร้างโครงสร้างสิ่งของนั้นด้วยเจลดูดซับ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับการเขียนด้วยปากกาในระบบขึ้นรูป 3 มิติ จากนั้น จึงแนบวัสดุ เช่น โลหะ ดีเอ็นเอ หรืออนุภาค “ควอนตัมดอท” สุดจิ๋วเข้ากับโครงสร้าง สุดท้าย สิ่งของเหล่านี้ก็จะหดโครงสร้างลงได้ในขนาดสุดมินิ ความสำเร็จในการพัฒนาเทคโนโลยีเชื่อว่าจะปฏิวัติวงการนาโนเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่มีราคาต้นทุนแพง แถมยังต้องใช้ห้องปลอดเชื้อ ทั้งหมดนี้ถือว่าไม่จำเป็นหากใช้กับเทคโนโลยีใหม่ของ MIT นักวิจัย MIT เชื่อว่า เทคโนโลยีนี้จะสามารถเข้าถึงได้ง่ายในอนาคต โดยอาจจะแพร่หลายถึงระดับบ้านหรือในโรงเรียน เนื่องจากวัสดุทั้งหมดในเทคโนโลยีนี้ปลอดสารพิษ. Manager online 18.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร