Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เหตุใดหลุมดำ จึงไม่ดูดเอาห้วงอวกาศเข้าไปทั้งหมด ?  

แม้จะทราบกันดีว่าหลุมดำเป็นวัตถุอวกาศที่มีแรงโน้มถ่วงมหาศาล จนกระทั่งแสงก็ไม่สามารถหนีหลุดรอดออกมาได้ แต่เราก็ยังไม่เคยพบหลุมดำที่ดูดเอามวลสารจากห้วงอวกาศโดยรอบเข้าไปอย่างไร้ขีดจำกัด หรือหลุมดำที่ขยายตัวอย่างไม่หยุดยั้งจนน่ากลัวว่าจะกลืนกินจักรวาลเข้าไปทั้งหมด ซึ่งหลายคนก็อาจสงสัยว่าทำไมจึงเป็นเช่นนั้น เคยมีผู้ให้คำอธิบายในเรื่องนี้เอาไว้หลายแนวทางด้วยกัน แต่ล่าสุดศาสตราจารย์เลนนาร์ด ซัสส์คินด์ (Leonard Susskind) จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด หนึ่งในผู้บุกเบิกวางรากฐานของทฤษฎีสตริง (String theory) คนสำคัญได้เสนอแนวคิดใหม่ที่ชี้ว่า หลุมดำจะไม่ดูดกลืนเอาห้วงอวกาศโดยรอบเข้าไปทั้งหมด เพราะมันมีการขยายตัว “ภายใน”มากกว่าการขยายตัวออกสู่พื้นที่ภายนอก ศ. ซัสส์คินด์เผยถึงแนวคิดดังกล่าว ในบทความที่เผยแพร่ทางเว็บไซต์คลังเอกสารวิชาการ arXiv.org โดยระบุว่าเมื่อหลุมดำดูดเอาสิ่งต่าง ๆ เข้าไปเพิ่มขึ้น จะเกิดการขยายตัวของปริมาตรด้านใน ซึ่งปริมาตรที่เพิ่มขึ้นนี้ไม่ใช่การขยายตัวของขนาดหรือพื้นที่แบบที่คนเราจะสังเกตเห็นได้ตามปกติ แต่เป็นการเพิ่มขึ้นของ “ความซับซ้อนเชิงควอนตัม” (Quantum complexity) ซึ่งอธิบายได้ด้วยคณิตศาสตร์ สสาร-พลังงาน 95% ของจักรวาลอาจเป็น “ของไหลมืด” หลุมดำหมุนตัวใกล้ความเร็วแสงอาจปั่นห้วงอวกาศให้หมุนตาม แสงดาวฤกษ์เปลี่ยนไปขณะเข้าใกล้หลุมดำตามทฤษฎีของไอน์สไตน์ คำอธิบายของศ. ซัสส์คินด์นี้แปลกใหม่และเข้าใจได้ยาก เพราะที่ผ่านมาการอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของหลุมดำจะอิงอยู่กับทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ ซึ่งทำนายถึงการมีอยู่ของหลุมดำไว้ตั้งแต่ปี 1915 โดยชี้ว่าหลุมดำคือสภาพที่ปริภูมิ-เวลา (space-time) ถูกมวลมหาศาลดึงถ่วงให้โค้งลงคล้ายท่อหรืออุโมงค์ลึก แต่นิยามนี้ไม่สามารถอธิบายเรื่องการขยายตัวของหลุมดำได้ นอกจากนี้ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปยังมีข้อจำกัดในการอธิบายปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ที่เล็กในระดับอนุภาค ทำให้ศ.ซัสส์คินด์พยายามสร้างทฤษฎีใหม่ โดยนำหลักกลศาสตร์ควอนตัมเข้ามาช่วยอธิบายเรื่องการขยายตัวของหลุมดำด้วย แม้ที่ผ่านมาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปจะไม่สามารถไปกันได้ดีนักกับกลศาสตร์ควอนตัมก็ตาม ในบทความที่เผยแพร่ล่าสุด ศ.ซัสส์คินด์เสนอทฤษฎีที่เรียกว่า Ads/CFT ซึ่งเป็นการใช้ทฤษฎีสตริงในกรอบ 4 มิติ สร้างแบบจำลองวิวัฒนาการของเอกภพที่กำลังขยายตัวแบบหนึ่ง โดยเขาบอกว่าแนวคิดการขยายตัว “ภายใน” ของหลุมดำนี้ มีความสอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่ว่าเอกภพกำลังขยายตัวด้วยอัตราเร่งอีกด้วย ข่าวสดออนไลน์ 26.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร