Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ดาวเคราะห์น้อย “ฮิปโป” มาเยือนรับคริสต์มาส  

คณะนักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการทดลอง เจท โพรพัลชัน (เจพีแอล) ในสังกัดองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (นาซา) ของสหรัฐอเมริกา เผยแพร่ภาพถ่ายจากสัญญาณเรดาร์ ชุดใหม่ของดาวเคราะห์น้อย "2003 เอสดี 220" หรือที่รู้จักกันในชื่อสามัญว่า ดาวเคราะห์น้อย "คริสต์มาสฮิปโป" พร้อมทั้งระบุว่า มันจะโคจรเฉียดเข้ามาใกล้โลกมากที่สุดในรอบ 400 ปีในวันที่ 22 ธันวาคมที่ผ่านมา ในระยะห่างราว 2.9 ล้านกิโลเมตร ซึ่งเป็นระยะประชิดที่สุดเท่าที่ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้โคจรผ่านเข้ามาใกล้โลก ทั้งนี้ ครั้งล่าสุดที่ "คริสต์มาส ฮิปโป" โคจรเข้ามาใกล้โลกก็คือเมื่อวันคริสต์มาสอีฟ (24 ธันวาคม) ปี 2015 ภาพถ่ายใหม่ของดาวเคราะห์น้อยฮิปโปนี้มีความคมชัดกว่าภาพเดิมที่ถ่ายไว้เมื่อปี 2015 ราว 20 เท่า เนื่องจากมันขยับเข้ามาใกล้มากกว่าครั้งที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่า "2003 เอสดี 220" มีความยาวทั้งสิ้นเกือบ 1.6 กิโลเมตร แสดงให้เห็นถึงลักษณะพิเศษของมันได้อย่างชัดเจน นั่นคือบริเวณส่วนที่สูงขึ้นกว่าพื้นที่โดยรอบ และทำให้มันมีลักษณะเหมือนฮิปโปโปเตมัส กำลังหย่อนตัวจมลงในน้ำ ซึ่งเป็นเทือกเขาสูงที่ดูเหมือนว่าจะเป็นทิวยาวจนรอบดาวเคราะห์น้อยทั้งดวงใกล้กับปลายสุดด้านหนึ่ง ความสูงของเทือกเขาดังกล่าวเมื่อเทียบกับพื้นที่ใกล้เคียงโดยรอบแล้ว อยู่ที่ราว 100 เมตร แลนซ์ แบนเนอร์ หนึ่งในทีมนักวิทยาศาสตร์ของนาซา ที่เจพีแอล ในเมืองพาซาเดนา รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ระบุว่า ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ยังมีจุดสว่างกระจายกันอยู่ทั่วไป ซึ่งเป็นไปได้ว่า อาจเป็นแสงที่สะท้อนกลับออกมาจากเนินหินขนาดใหญ่บนดาวเคราะห์น้อยนั่นเอง และหากสังเกตดีๆ จะมีบริเวณริมขอบด้านขวาของ "คริสต์มาสฮิปโป" ที่มีลักษณะเป็นวงกลมสีเข้มดำ ปรากฏอยู่เป็นกลุ่ม ซึ่งอาจจะเป็นบริเวณที่ถูกอุกกาบาตถล่มจนกลายเป็นหลุมบ่อนั่นเอง ภาพถ่ายชุดใหม่ยังยืนยันรายละเอียดเกี่ยวกับตัว "คริสต์มาสฮิปโป" ด้วยว่า มันหมุนรอบตัวเองช้ามาก คือครบ 1 รอบในทุกๆ 12 วัน ซึ่งเป็นการหมุนรอบตัวเองที่ช้าจนน่าประหลาดใจเมื่อเทียบกับดาวเคราะห์น้อยทั่วๆ ไป นอกจากนั้น ยังมีการเคลื่อนที่แบบแปลกๆ คือมีการกระเพื่อม ซึ่งนักวิทยาศาสตร์บางคนเปรียบเทียบว่าเหมือนกับอาการเดินเรื่อยเปื่อยของฮิปโปอีกด้วย ขนาดและระยะโคจรที่ขยับเข้ามาใกล้โลกทำให้ "คริสต์มาสฮิโป" ถูกจับตามองและเฝ้าระวังจากโครงการสังเกตการณ์วัตถุใกล้โลก แต่ยืนยันว่าจะไม่ก่ออันตรายต่อโลกแต่อย่างใด มติชนออนไลน์ 27.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร