Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิทยาศาสตร์จีน พบสูตรเล่นแร่ แปรทองแดง เป็น 'ทองคำ'  

กลุ่มสื่อจีน รายงาน (24 ธ.ค.) พบกระบวนการที่ทองแดง เมื่อถูกเผาไหม้ด้วยแก๊สอาร์กอนจะสร้างอนุภาคที่มีคุณสมบัติคล้ายกับทองคำ รายงานการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสาร Science Advances เมื่อวันที่ 22 ธันวาคมระบุว่า ทีมนักวิจัยชาวจีนได้เปลี่ยนทองแดงราคาถูกเป็นวัสดุใหม่“ เกือบเหมือนกัน” กับทองคำ วัสดุใหม่ไม่สามารถเปลี่ยนเป็นทองคำ(ปลอม)ได้ เพราะความหนาแน่นของมันยังคงเหมือนทองแดง แต่การค้นพบครั้งนี้จะช่วยลดการใช้โลหะหายากราคาแพงในโรงงานได้อย่างมาก ศาสตราจารย์ซุน เจียน และเพื่อนร่วมงานที่สถาบันฟิสิกส์เคมีของต้าเหลียน สถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศจีนในมณฑลเหลียวหนิง ได้ยิงทองแดงด้วยเปลวก๊าซอาร์กอนร้อนที่มีประจุไฟฟ้า อนุภาคที่แตกตัวเป็นอิออนที่เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วนั้น จะระเบิดอะตอมทองแดงออกจากเป้าหมาย เมื่ออะตอมเย็นตัวลงและควบแน่นบนพื้นผิวของวัสดุทำให้เกิดชั้นทรายบาง ๆ โดยทรายแต่ละเม็ดมีเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงไม่กี่นาโนเมตร หรือขนาดเพียงหนึ่งในพันของแบคทีเรีย นักวิจัยเตรียมนำวัสดุนี้ไปใช้ในห้องปฏิกิริยาและใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการเปลี่ยนถ่านหินเป็นแอลกอฮอล์ ซึ่งเป็นกระบวนการทางเคมีที่ซับซ้อนและยาก ซึ่งจำเป็นต้องใช้โลหะมีค่าเท่านั้นที่สามารถจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะอนุภาคนาโนทองแดงบรรลุประสิทธิภาพการเร่งปฏิกิริยาคล้ายกับทองคำหรือเงิน "กระบวนการใช้ทองแดงแทนทองคำนี้ ช่วยลดต้นทุนการผลิต เป็นหนทางสนับสนุนที่สำคัญสำหรับอุตสาหกรรมจีน" นักวิจัยกล่าว โลหะมีค่ายังคงเป็นศูนย์กลางของเศรษฐกิจสมัยใหม่ ยกตัวอย่างเช่น ส่วนประกอบของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ประกอบด้วยทองคำ เงิน และแพลตตินั่มจำนวนมาก ซึ่งทองแดงไม่สามารถทำงานได้เช่นเดียวกับทองคำในงานอุตสาหกรรมโดยส่วนใหญ่ เป็นเพราะมีอิเล็กตรอนน้อยกว่า - อนุภาคในอะตอมมีประจุลบ ฯลฯ แต่ด้วยความที่อิเล็กตรอนเหล่านี้ค่อนข้างเสถียร ดังนั้นทองแดงจึงมีแนวโน้มที่จะตอบสนองได้ง่ายขึ้นเมื่อรวมกับสารเคมีอื่น ๆ วิธีการที่พัฒนาโดยทีมงานของศาสตราจารย์ซุน สามารถฉีดพลังงานจำนวนมากเข้าไปในอะตอมทองแดง และทำให้อิเล็กตรอนมีความหนาแน่นและเสถียรมากขึ้น ทำให้ได้วัสดุใหม่ ที่สามารถต้านทานอุณหภูมิสูง การออกซิเดชั่นและการกัดเซาะ คณะนักวิจัยฯ กล่าวว่า "มันเป็นเหมือนนักรบที่มีเกราะทองคำในสนามรบ ที่สามารถต้านทานการโจมตีของศัตรู" Manager online 27.12.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร