Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิทย์เผยสึนามิเคยถล่มจีนเมื่อ 1,000 ปีที่แล้ว เตือนความเสี่ยงยังมีอยู่ อาจถล่มกวางตุ้ง ไห่หนัน และบางส่วนของไทย  

เซาท์ ไชน่า มอร์นิ่งโพสต์-- กลุ่มนักวิจัยจีนเผยว่า ราวเมื่อ 1,000 ปีที่แล้ว สึนามิเคยอุบัติทำลายล้างอารยธรรมอย่างแทบไม่หลงเหลือซากในบริเวณที่เป็นมณฑลกว่างตงในปัจจุบัน กระทั่งปัจจุบันความเสี่ยงจากภัยพิบัติธรรมชาตินี้ยังมีอยู่ในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งของจีน สืบเนื่องจากมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจีน (University of Science and Technology of China/USTC) และมหาวิทยาลัยนอร์มัลแห่งจีนตะวันออก (East China Normal University) ได้ทำการวิจัยความเสี่ยงต่อภัยพิบัติธรรมชาติโดยเก็บข้อมูลในภาคสนามและศึกษาเป็นเวลาหลายปี กลุ่มนักวิจัยได้เตือนความเสี่ยงภัยสึนามิในพื้นที่ชายฝั่งจีน และเสนอให้รัฐบาลวางแผนรับมือความเสี่ยงดังกล่าว โดยเฉพาะแผนการเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานทางยุทธศาสตร์ อาทิ โรงงานนิวเคลียร์ และโครงสร้างพื้นฐานภายใต้ความริเริ่มหนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (Belt and Road Initiative) “การศึกษาได้ยืนยันความเสี่ยงภัยสึนามิในทะเลจีนใต้ ดังนั้น ควรวางแผนในอนาคต อาทิ การก่อสร้างโรงงานพลังงานนิวเคลียร์ ท่าเรือ และโครงสร้างพื้นฐานแหล่งสำรองน้ำมันแถบชายฝั่งทะเลจีน” นักวิจัยระบุไว้ในบทความที่เผยแพร่ในวารสารวิทยาศาสตร์ Chinese Science Bulletin ประจำเดือนม.ค. ความริเริ่มหนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง เป็นแผนความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าที่จะเชื่องโยงภูมิภาคเอเชีย แอฟริกา ยุโรป ทั้งทางบกและทางทะเล รัฐบาลได้ทุ่มเงินลงทุนก้อนมหึมาในการก่อสร้างท่าเรือ รถไฟ ถนน โรงงานพลังงาน และโครงสร้างพื้นฐานต่างๆในต่างแดน จากข้อมูลที่รวบรวมได้จากภาคสนาม ซุน ลี่กวง และเซี่ย โจวชิง นักวิจัยแห่งมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจีน ผู้นำทีมวิจัยฯได้สรุปว่า เคยเกิดสึนามิในทะเลจีนใต้เมื่อปีค.ศ. 1076 และได้ทำลายล้างบริเวณที่เป็นมณฑลว่างตงในปัจจุบัน จากแบบจำลองคอมพิวเตอร์ ยังสามารถสรุปได้ถึงความเสี่ยงแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่จะก่อให้เกิดสึนามิตามมาตามแนวร่องทะเลลึกมะนิลา (Manila Trench) และจู่โจมบริเวณมณฑลกว่างตง ไห่หนัน ของจีน รวมทั้งพื้นที่บางส่วนของไทย รายงานผลการวิจัยยังระบุว่าจีนได้เริ่มวางระบบทุ่นตรวจวัดคลื่นสึนามิ ใกล้กับร่องทะเลลึกมะนิลาในทะเลจีนใต้เมื่อต้นปีที่แล้ว กลุ่มบริษัทอย่างเช่น บริษัทพลังงานนิวเคลียร์ฝูชิง (Fuqing Nuclear Power Company) ได้ตระหนักถึงภัยคุกคามจากสึนามิ เฉิน กัวไช่ ผู้จัดการทั่วไปของบริษัทพลังงานนิวเคลียร์ฝูชิง ให้สัมภาษณ์กับซีซีทีวี รับรองระบบต้านทานสึนามิของโรงงานฯ ซึ่งติดตั้งเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์รุ่นที่สามที่ชายฝั่งมณฑลฝูเจี้ยน เฉินแจงว่า เตาปฏิกรณ์นิวเคลยร์ หวาหลงที่หนึ่ง (Hualong One) ของโรงงาน ออกแบบอาคารคลุมเตาปฏิกรณ์สองชั้น โดยอาคารครอบชั้นในสามารถรับประกันการรั่วไหลของรังสีในสถานการณ์คล้ายหายนะฟูกุชิมะ ส่วนอาคารชั้นนอกแข็งแรงพอที่จะต้านทานแรงกระทบจากการระเบิดของเครื่องบิน ” ทั้งนี้ เมื่อ 8 ปีที่แล้ว แผ่นดินไหวได้กระตุ้นคลื่นสึนามิ สร้างความเสียหายให้กับเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ นับเป็นอุบัติภัยร้ายแรงด้านนิวเคลียร์รั่วไหลครั้งรุนแรงที่สุดนับจากหายนะนิวเคลียร์รั่วไหลเชอร์โนบิลเมื่อปี 1986 ซึ่งทำให้ทั่วโลกต้องชะลอการสร้างงานพลังงานนิวเคลียร์ Manager online 04.01.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร