Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เยอรมันใช้พลังงานหมุนเวียนแซงหน้าถ่านหินแล้ว  

ข้อมูลจากงานวิจัยเผยเมื่อปี 2018 ที่ผ่านมา เยอรมันใช้พลังงานหมุนเวียนแซงหน้าพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าแล้ว โดยมีสัดส่วนพลังงานสะอาดถึง 40% ขณะที่พลังงานถ่านหินอยู่ที่ 38% นับเป็นการใช้พลังงานมากกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นครั้งแรก การใช้พลังงานหมุนเวียนเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดของเยอรมันนี้ แสดงถึงความก้าวหน้าของชาติที่มีเศรษฐกิจใหญ่สุดของยุโรปนี้ ซึ่งตั้งเป้าหมายใช้พลังงานหมุนเวียนให้ได้ถึง 65% ของทั้งหมดภายในปี 2030 รวมถึงจะยกเลิกพลังงานนิวเคลียร์ภายในปี 2022 และกำลังวางแผนหาทางออกระยะยาวสำหรับพลังงานถ่านหิน รอยเตอร์อ้างงานวิจัยจากองค์กรด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์ฟรอโนเฟอร์ (Fraunhofer) ที่เผยให้เห็นว่า พลังงานผลิตกระแสไฟฟ้าในเยอรมนีจากแสงอาทิตย์ ลม และชีวมวล รวมถึงโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำเพิ่มขึ้น 4.3% โดยผลิตกระแสไฟฟ้าทั้งหมด 219 เตตะวัตต์ชั่วโมง (Twh) ขณะที่กำลังการผลิตไฟฟ้าของเยอรมนีทั้งเชื้อเพลิงสะอาดและเชื้อเพลิงฟอสซิลทั้งหมด 542 เตตะวัตต์ชั่วโมง ส่วนเชื้อเพลิงถ่านหินคิดเป็นปริมาณ 38% ของพลังงานทั้งหมด สัดส่วนพลังงานสะอาดในการผลิตกระแสไฟฟ้าของเยอรมันเพิ่มขึ้นจาก 38.2% ในปี ค.ศ.2017 โดยเมื่อปี ค.ศ.2010 มีสัดส่วนเพียง 19.1% ซึ่ง บรูโน เบอร์เกอร์ (Bruno Burger) ผู้เขียนรายงานวิจัยจากการศึกษาของฟรอโนเฟอร์นี้ กล่าวว่าภายในปี ค.ศ.2019 สัดส่วนจะเพิ่มมากกว่า 40% และจไม่ลดต่ำกว่านี้อย่างแน่นอน เนื่องจากกำลังก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานของพลังงานสะอาดเพิ่มขึ้น อีกทั้งรูปแบบของสภาพอากาศจะไม่แปรปรวนไปมาก Manager online 06.01.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร