Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ตัวอย่าง 7 ประเทศทั่วโลก แก้ปัญหามลพิษทางอากาศ  

โลกในวันนี้กำลังเผชิญกับ “อากาศสกปรก” โดยรายงานจากองค์การอนามัยโลก (World Health Organization)หรือ WHO กล่าวว่าเมืองใหญ่เกือบทุกแห่งถูกปกคลุมด้วยมลพิษทางอากาศ สำหรับประเทศไทย ไม่เพียงกรุงเทพฯ แต่เมืองอื่นๆ เช่น เชียงใหม่ ก็ประสบปัญหานี้เช่นกัน และในบางครั้งเข้าขั้นวิกฤต ไปดูตัวอย่างจาก 7 ประเทศทั่วโลกว่ากำลังรับมือและจัดการกับปัญหามลพิษทางอากาศอย่างไรบ้าง 1.นิวเดลี ประเทศอินเดีย ออกนโยบายห้ามรถยนต์ที่มีเครื่องยนต์ขนาดใหญ่และรถ SUV ที่มีเครื่องยนต์แรงม้ามากกว่า 2000 ซีซี พร้อมทั้งบังคับรถแท็กซี่ที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลหลายพันคันให้หยุดวิ่ง นอกจากนี้ ยังทดลองนโยบายการให้รถยนต์เลือกหยุดวิ่งในวันคี่หรือวันคู่ และกระตุ้นให้ผู้คนใช้ขนส่งสาธารณะ เช่น รถตู้อูเบอร์มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม รัฐบาลอินเดียยังไม่มีมาตรการการจัดการมลพิษทางอากาศกับภาคอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น การเผาทำลายซากผลผลิตจากเกษตรกรรม โรงงานอุตสาหกรรม และโรงไฟฟ้าถ่านหิน 2.ประเทศเกาหลีใต้ รัฐบาลเกาหลีใต้ชุด มุน แจอิน อนุมัติให้ปิดโรงไฟฟ้าถ่านหิน 8 แห่งชั่วคราว เพื่อลดมลพิษทางอากาศ ซึ่งในปีที่ผ่านมามีการสั่งปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินเหล่านี้ในช่วงฤดูใบไม้ผลิเป็นเวลา 4 เดือน และมีแผนจะปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินโรงเก่าอย่างถาวรภายในเดือนพฤษภาคมปี พ.ศ.2563 เพื่อลดมลพิษทางอากาศและทำตามข้อตกลงปารีส เพื่อลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แม้ว่าปัจจุบันโรงไฟฟ้าถ่านหินเหล่านี้ผลิตไฟฟ้าให้กับประเทศถึงร้อยละ 40 3.ปารีส ประเทศฝรั่งเศส สนับสนุนประชาชนให้ใช้ระบบขนส่งสาธารณะมากขึ้น โดยไม่อนุญาตให้รถยนต์ส่วนตัววิ่งในย่านศูนย์กลางเมืองในช่วงวันสุดสัปดาห์ ห้ามใช้รถยนต์ในย่านฌ็องเซลิเซ่ 1 ครั้งต่อเดือน และสนับสนุนการใช้จักรยานโดยจัดทำโครงการยืมจักรยาน หรือเรียกว่าธนาคารจักรยาน 4. ไฟรบวร์ค ประเทศเยอรมนี เมืองไฟรบวร์คสนับสนุนการใช้จักรยานในการเดินทาง โดยมีทางจักรยานยาวกว่า 500 กิโลเมตร มีรถรางและระบบขนส่งสาธารณะที่มีประสิทธิภาพและราคาถูก นอกจากนี้ ในย่านชานเมืองบางแห่งยังห้ามไม่ให้ประชาชนจอดรถยนต์ใกล้ๆ บ้าน ซึ่งทำให้เจ้าของรถต้องเสียเงินเช่าพื้นที่จอดรถกว่า 18,000 ยูโร หรือประมาณ 660,162 บาท 5.ประเทศเนเธอร์แลนด์ รัฐบาลเนเธอร์แลนด์มีการเสนอนโยบายห้ามการขายรถยนต์ดีเซล และหากร่างนโยบายนี้ผ่านการอนุมัติจะมีผลบังคับใช้ภายในปีพ.ศ.2568 (ค.ศ.2025) โดยการขายรถยนต์ไฟฟ้าจะเข้ามาแทนที่รถยนต์ที่ใช้น้ำมัน อย่างไรก็ตาม ร่างนโยบายนี้อนุโลมให้ประชาชนที่มีรถยนต์ดีเซลอยู่ก่อนแล้วสามารถใช้รถต่อไปได้ 6.ออสโล ประเทศนอร์เวย์ เมืองออสโลมีแผนจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงครึ่งหนึ่งภายในปี พ.ศ.2563 (ค.ศ.2020) โดยกำหนดโซน “ปลอดรถคันใหญ่” และเริ่มทำทางจักรยานใหม่ที่มีระยะทางรวมกว่า 40 ไมล์ นอกจากนี้ยังเพิ่มค่าธรรมเนียมรถติดกับผู้ใช้รถยนต์ในชั่วโมงเร่งด่วน และลดพื้นที่ลานจอดรถหลายแห่ง 7.โคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เมืองโคเปนเฮเกนให้ความสำคัญกับการใช้จักรยานทดแทนรถยนต์ส่วนตัว แนวคิดของการใช้จักรยานคือการคิดถึงมูลค่าของจักรยานเทียบกับรถยนต์ โดยการขี่จักรยาน 1 ไมล์ให้มูลค่ากับชุมชนประมาณ 0.42 ดอลล่าร์สหรัฐ ขณะที่การขับรถยนต์ส่วนตัวเป็นระยะทาง 1 ไมล์ให้มูลค่ากับชุมชนประมาณ 0.20 ดอลล่าร์สหรัฐ นอกจากนี้เมืองส่วนใหญ่ในเดนมาร์กเริ่มทยอยหยุดใช้รถยนต์มาเป็นเวลากว่าสิบปีแล้ว เพื่อทำตามนโยบายเมืองที่มุ่งจะเป็น “เมือง Carbon Neutral” หรือเมืองที่มีกิจกรรมการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเท่ากับศูนย์ภายในปีพ.ศ.2568 (ค.ศ.2025) Manager online 16.01.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร