Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิทยาศาสตร์ศึกษารูม่านตาและคลื่นสมองเพื่อวัดระดับ 'ความเจ็บปวด'   

สถาบันสุขภาพแห่งชาติของสหรัฐฯ ประมาณว่ามีคนอเมริกันราว 25 ล้านคนที่มีปัญหาเรื่องความเจ็บปวดจากอาการทางร่างกายอยู่ทุกวัน และตัวเลขการใช้ยาแก้ปวดทั้งตามใบสั่งแพทย์ รวมทั้งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพก็สูงขึ้นอย่างน่าตกใจด้วย เท่าที่ผ่านมา แพทย์มักพยายามขอให้คนไข้ระบุหรือให้ค่าความเจ็บปวดเป็นตัวเลข 1 ถึง 10 แต่เรื่องนี้ก็มักจะมีปัญหาเพราะความเจ็บปวดนั้นเป็นนามธรรมที่แต่ละคนมักให้ค่าและมีประสบการณ์ไม่เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น พ่อแม่หรือพยาบาลอาจสังเกตความเจ็บปวดของทารกจากลักษณะการเคลื่อนไหวหรือเสียงร้องได้ แต่สำหรับผู้ใหญ่นั้นบางคนอาจจะมีระดับความทนต่อความเจ็บปวดไม่เหมือนกัน ดังนั้นตัวเลขความเจ็บปวดระดับห้าหรือเจ็ดของแต่ละคนจึงอาจไม่เท่ากันด้วย อย่างไรก็ตาม แพทย์ได้พยายามวัดค่าความเจ็บปวด เช่น การปวดข้อปวดกระดูก ด้วยการสังเกตรูม่านตา เพราะดวงตาซึ่งเปรียบเสมือนหน้าต่างของหัวใจนั้น อาจใช้เป็นช่องทางบ่งบอกระดับความเจ็บปวดได้ คือถ้ายิ่งปวดมากรูม่านตาก็จะขยายใหญ่ตามไปด้วย ส่วนนักวิทยาศาสตร์ด้านระบบประสาทก็พยายามศึกษาความเปลี่ยนแปลงในสมองเพื่อวัดค่าความเจ็บปวดเช่นกัน โดยนักวิจัยที่มหาวิทยาลัย Harvard และ MIT พบว่า การใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI ตรวจสมองได้พบว่าพื้นที่บางส่วนของสมองมีการทำงานหรือมีคลื่นสมองเพิ่มมากขึ้นเวลาที่ผู้ป่วยมีความเจ็บปวด และนักวิจัยของสถาบันสุขภาพแห่งชาติก็กำลังศึกษาว่า biomarkers หรือตัวบ่งชี้ทางชีวภาพบางอย่าง ช่วยบอกถึงความสามารถที่บางคนสามารถฟื้นตัวจากอาการเจ็บปวดอย่างรุนแรง ในขณะที่บางคนต้องมีปัญหาในระยะยาว ได้อย่างไร โดยหวังว่า หากสามารถทำความเข้าใจและวัดประเมินค่าความเจ็บปวดเป็นตัวเลขได้แล้ว โอกาสที่จะพัฒนายาและวิธีบำบัดความเจ็บปวดต่างๆ รวมทั้งการประเมินประสิทธิผลของวิธีแก้ปวดเหล่านี้ก็จะทำได้ง่าย และเป็นผลดีขึ้นเช่นกัน Voice of America 17.01.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร