Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ย้ำกระทรวงการอุดมฯ เน้นรวม3ศาสตร์  

"สุวิทย์" เชื่อ3ศาสตร์ "วิทย์ สังคม มนุษย์ฯ" ลงตัวชี้มนุษย์สมบูรณ์ ไม่ได้สร้างได้ด้วยวิทยาศาสตร์อย่างเดียว ระบุชื่อกระทรวงใหม่ ตั้งให้ยาวทั้งหมดไม่ได้ ย้ำอาจารย์ในมหาวิทยาลัย เป็นหลักสร้างสมดุล ไม่ใช่กระทรวงวิทยาศาสตร์หรือกระทรวงใหม่ กรณีที่นักวิชาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์แสดงความห่วงใยว่ากระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จะให้ความสำคัญกับงานด้านวิทยาศาสตร์ จนละเลยสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ทั้งเห็นว่าประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ควรเป็นคนที่เข้าใจงานการอุดมศึกษา และไม่ใช่คนที่จะเล่นการเมืองนั้น วันนี้ (21ม.ค.) นายสุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เปิดเผยถึงว่า คิดว่านักวิชาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ไม่ต้องเป็นห่วง เพราะโดยส่วนตัวมีความเชื่อในความลงตัวของ 3 ศาสตร์ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เพราะการเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ หรือการสร้างประเทศของเรา ไม่ได้สร้างได้ด้วยวิทยาศาสตร์อย่างเดียว ต้องบูรณาการทั้ง 3 ศาสตร์เข้าด้วยกัน เพียงแต่ว่าชื่อกระทรวงใหม่ จะตั้งให้ยาวทั้งหมดคงไม่ได้ การจะสร้างคนและประเทศ ต้องอาศัยทั้งวิทยาศาสตร์ที่เป็นรูปธรรม และความดี ความงาม ความจริง ที่เป็นนามธรรมเข้ามาด้วย เพราะฉะนั้นการที่โลกเราเปลี่ยนไปในเชิงภูมิรัฐศาสตร์ ภูมิเศรษฐกิจ จำเป็นต้องอาศัยสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์อีกมาก หรือการถอดรหัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน เป็นความลึกซึ้งที่ต้องมีการทำวิจัยมากกว่านี้ "สำหรับผม ไม่ใช่ผมเป็นรมว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแล้ว เน้นแต่วิทยาศาสตร์ เพียงแต่ว่าน้ำหนักที่ตอนนี้ให้ความสำคัญในการจัดทัพในช่วงต้น มันอาจจะไม่อาจจะแยกออกเป็น 3 ศาสตร์ ก็ขอนำมารวมกันไว้ก่อน และใช้ชื่อรวมๆกันไปก่อน และผู้ที่จะเป็นหลักในการสร้างความสมดุลให้กับทั้ง 3 ศาสตร์ก็คือ อาจารย์ในมหาวิทยาลัย ไม่ใช่กระทรวงวิทยาศาสตร์ หรือ กระทรวงใหม่ มหาวิทยาลัยมีการวิจัยใน 3 ศาสตร์นี้อยู่ไม่น้อย อยู่ที่โจทย์วิจัย เช่น เราจะอยู่อย่างไรในอาเซียน หรือเมื่อเราเป็นไทยแลนด์ 4.0 แล้ว จะไปเชื่อมต่อกับ เส้นทางสายไหมในศตวรรษที่21 หรือ One Belt One Road อย่างไร ซึ่งจะต้องใช้สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มาช่วย ส่วนการจัดทัพ โครงสร้าง เป็นเรื่องภายหลัง เพียงแต่ตอนนี้เอาง่ายๆ เอาเท่าที่มีก่อน และในอีก 2-3 ปีข้างหน้า ก็อาจจะต้องเปลี่ยนอีกมาก สังคมศาสตร์ก็เป็นโจทย์ที่อาจจะต้องเป็นโจทย์ใหม่ๆ เป็นทั้งโจทย์ที่แก้ปัญหาที่มีอยู่ โจทย์ของการดึงตัวตนของความเป็นไทยดึงศักยภาพคนไทยออกมา รวมถึงโจทย์ของการรับมือการเปลี่ยนแปลงของโลกอนาคต เป็นต้น” นายสุวิทย์ กล่าว ทั้งนี้ สำหรับความคืบหน้าของคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ขณะนี้อยู่ในมือ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ซึ่งคณะกรรมการชุดนี้จะทำแผนแม่บทสำหรับการเปลี่ยนแปลง มีกระบวนการในการทำงานร่วมกัน ความเชื่อมโยงระหว่างกระทรวงการอุดมฯกับกระทรวงอื่นๆ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ส่วนจะออกมาได้เมื่อไรนั้น ขึ้นกับนายกฯ ส่วนประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ซึ่งมีข่าวว่าเป็นประธานนั้น ตนยังไม่ทราบ อาจจะไม่ใช่ก็ได้ เพราะต้องไปลงการเมือง แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นกับนายกฯ Bangkokbiznews 22.01.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร