Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อียูช่วย 5 ชาติลุ่มน้ำโขงประหยัดพลังงานภาคขนส่ง 16%  

เผยผลดำเนินโครงการขนส่งสินค้ายั่งยืนในลุ่มน้ำโขงนาน36เดือนที่ได้รับการสนับสนุนจากอียูระบุช่วยประหยัดพลังงานในภาคขนส่ง16%โดยผลจากการดำเนินงานจะเป็นแนวทางในการขนส่งของ5ชาติลุ่มน้ำโขงให้มีประสิทธิภาพต่อไป สหภาพยุโรปได้สนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินโครงการขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ที่ยั่งยืนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงที่เป็นส่วนหนึ่งของแผนงานSWITCHAsia Programme โดยมีองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน(GIZ)เป็นผู้ดำเนินโครงการฯร่วมกับสมาคมขนส่งอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง(GMS-FRETA)และสถาบันความร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจลุ่มน้ำโขง(MI)และได้ดำเนินงานเป็นเวลา36เดือนตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์2559ถึงเดือนมกราคม2562 SWITCHAsia การขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ที่ยั่งยืนในอนุภาคลุ่มแม่นํ้าโขงมีสมาคมที่เกี่ยวข้องอีก5ประเทศได้แก่ กัมพูชา สปป.ลาวเมียนมาร์ เวียดนาม และไทยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานปรับปรุงสภาพแวดล้อมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในภาคการขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์และมีพิธีปิดโครงการระดับภูมิภาคเมื่อวันที่ 22มกราคม62ณโรงแรมฮิลตัน สุขุมวิท24ฯพณฯเปียร์ก้า ตาปิโอลาเอกอัครราชทูตสหภาพยุโรปประจำประเทศไทยกล่าวว่า โครงการขนส่งฯได้ช่วยเหลือและสนับสนุนกระทรวงคมนาคมทั้ง5ประเทศในการปรับปรุงกฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการขนส่งสินค้าอันตรายผลลัพธ์นี้เกิดจากการร่วมมือของพันธมิตรผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญรวมถึงหน่วยงานภาครัฐSMEsด้านการขนส่งสินค้าและสมาคมการขนส่งต่างๆแนวทางการปฏิบัติที่ดีและบทเรียนที่ได้จากโครงการจะถูกนำไปเผยแพร่ต่อเพื่อพัฒนาการขนส่งสินค้าที่ยั่งยืนกว้างขวางและมีประสิทธิภาพมากขึ้น “แผนงานSWITCH-Asiaจะสนับสนุนประเทศต่างๆในภูมิภาคเอเชียให้มีการส่งเสริมการบริโภคและการผลิตอย่างยั่งยืนและจนถึงปัจจุบันมีโครงการจำนวนกว่า100โครงการที่ได้รับเงินทุนนี้แล้วโครงการขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ที่ยั่งยืนในอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้รับเงินทุนสนับสนุนจำนวน2.4ล้านยูโรนับว่าประสบผลสำเร็จในการดำเนินกิจกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงด้วยการมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งของSMEsด้านการขนส่งลดการใช้เชื้อเพลิงโดยรวมเฉลี่ยร้อยละ16และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ด้วย”เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรปประจำประเทศไทยกล่าวนายชัยวัฒน์ทองคำคูณ ปลัดกระทรวงคมนาคมกล่าวว่าการคมนาคมขนส่งถูกยอมรับว่าเป็นส่วนสำคัญของการพัฒนาและบูรณาการเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคเพราะการคมนาคมขนส่งมีบทบาทสำคัญในการขนย้ายสินค้าบริการและประชาชนนอกจากนี้ยังช่วยสนับสนุนให้เกิดการเชื่อมโยงเศรษฐกิจของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงเช่นการอำนวยความสะดวกด้านขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงและอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งอาเซียน “โครงการขนส่งสินค้าได้ให้การสนับสนุน5ประเทศในการดำเนินงานโดยเฉพาะประเทศไทยก็มุ่งดำเนินงานเช่นการขับขี่ปลอดภัยประหยัดพลังงานขนส่งสินค้าอันตรายให้ปลอดภัยพัฒนามาตรฐานการให้บริการรถบรรทุกนอกจากนี้ไทยยังมุ่งมั่นลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้ได้ร้อยละ20ตามวาระการประชุมระดับโลก”ปลัดกระทรวงคมนาคมกล่าวด้านข้อตกลงปารีสเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศประเทศในกลุ่มGMSได้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้สำหรับการลดการปล่อยมลพิษเวียดนามไทยและกัมพูชามุ่งมั่นที่จะดำเนินการตามความตั้งใจที่กำหนดไว้ในระดับประเทศ(INDCs)ในขณะที่ลาวและพม่าตกลงที่จะดำเนินกิจกรรมบรรเทาผลกระทบ “เมื่อเร็วๆนี้รัฐบาลของเราได้นำแผนปฏิบัติการการดำเนินโครงการด้านการขนส่ง(NDC)มาใช้ซึ่งเราคาดหวังว่าจะได้รับความสนใจอย่างมากจากทั้งภาคการขนส่งผู้โดยสารและอุตสาหกรรมการขนส่งสินค้าประเทศไทยมีเป้าหมายที่ท้าทายในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของเราลง20%ส่วนใหญ่มาจากภาคพลังงานที่ขนส่งคิดเป็น19.2%เรามุ่งมั่นต่อแผนนี้และหวังว่าจะเป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับเพื่อนของเราในภูมิภาคแม่น้ำโขงที่มีแผนคล้ายกันและควรจะให้ความมั่นใจว่าโครงการที่แสดงในทางปฏิบัติการประหยัดเชื้อเพลิงและCO2อย่างมีนัยสำคัญนั้นไม่เพียงเป็นไปได้แต่ยังสามารถประหยัดงบประมาณของเราได้อีกด้วย”นายชัยวัฒน์กล่าวปลัดกระทรวงคมนาคมกล่าวต่อว่าผลของการดำเนินโครงการขนส่งสินค้าที่ยั่งยืนเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อยุทธศาสตร์ภาคการขนส่งGMS2030 กลยุทธ์นี้เตือนว่าการขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่อำนวยความสะดวกโดยการบริการขนส่งที่ดีขึ้นอาจนำไปสู่มลพิษและดำเนินการเพื่อต่อสู้กับมลพิษและขยายเศรษฐกิจอย่างเป็นมิตรเพื่อปกป้องชีวิตและสุขภาพของผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำเป็นต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าสินค้าอันตรายสามารถขนส่งได้อย่างปลอดภัยทั้งนี้ยังมีตัวแทนจากแต่ละประเทศมารวมพูดคุยถึงความสำเร็จความท้าท้าย และบทเรียนจาก5 ประเทศรวมถึงความต่อเนื่องและภาพอนาคตของการขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์อย่างยั่งยืนในภูมิภาคโดยผู้แทนโครงการจากประเทศกัมพูชาลาว พม่า เวียดนาม และไทยซึ่งโครงการนี้ได้ปิดตัวลงแล้วแต่ผลงานของโครงการจะเป็นแนวทางในการพัฒนาการขนส่งที่มีประสิทธิภาพต่อไปในภายภาคหน้า Manager online 23.01.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร