Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เครื่องวัดความหนาแน่นกระดูกด้วยแสง พกพาได้ ไม่ต้องไป รพ.  

เครื่องวัดความหนาแน่นของกระดูกแบบพกพาขนาดเล็กแม่นยำและปลอดภัยต่อผู้วัดใช้แสงตรวจวัดได้เองและสะดวกต่อการใช้งานเหมาะต่อการใช้งานเป็นประจำช่วยลดค่าใช้จ่ายในการตรวจที่โรงพยาบาล รองศาสตราจารย์อนรรฆ ขันธะชวนะอาจารย์คณะวิศวกรรมเครื่องกลและวิศวกรรมชีวภาพมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีพัฒนาเครื่องวัดความหนาแน่นของกระดูกแบบพกพาโดยใช้แสงเป็นการวัดความหนาแน่นของกระดูกอธิบายแก่ทีมข่าวผู้จัดการวิทยาศาสตร์ว่าปกติการวัดความหนาแน่นของกระดูกจะใช้เครื่องเอกซเรย์ซึ่งมีขนาดใหญ่และอันตรายต่อผู้วัด "เราจึงคิดค้นเครื่องวัดความหนาแน่นของกระดูกแบบพกพาโดยใช้แสงเพื่อเป็นอุปกรณ์ตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูกที่มีความแม่นยำและปลอดภัยอีกทั้งสามารถพกพาได้เนื่องจากมีขนาดเล็กเครื่องวัดความหนาแน่นกระดูกนี้จึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการใช้เป็นประจำโดยไม่จำเป็นต้องเข้ารับการตรวจที่โรงพยาบาลเป็นการลดค่ารักษาพยาบาล"ทีมวิจัยระบุ นายณรงค์เดชสุรัชนีนพดล นักวิจัยห้องปฎิบัติการวัสดุฉลาดSmartlabมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีหนึ่งในทีมพัฒนาเครื่องวัดความหนาแน่นกระดูกกล่าวว่าประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุซึ่งส่วนใหญ่มักจะมีปัญหากับโรคกระดูกพรุนและปัญหาไม่ได้มีเพียงแค่นี้การที่ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีความเสี่ยงที่เป็นโรคกระดูกพรุนจะรับทราบได้ว่าตนเป็นโรคกระดูกพรุนหรือไม่นั้นต้องไปตรวจที่โรงพยาบาลอย่างเดียวและค่าบริการการแพทย์ปัจจุบันยังอยู่ที่ราคาหลักพันบาทอีกด้วย นายณรงค์เดชกล่าวต่อว่าแรงบันดาลใจมาจากความคิดที่ว่าจะเป็นการดีหากสามารถพกพาได้และใช้งานได้สะดวกจึงได้คิดค้นเครื่องตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูกแบบพกพาโดยใช้แสงซึ่งหลักการของเครื่องตัวนี้ใช้หลักการของแสงโดยวัดค่าของมวลกระดูกออกมาในช่วงความยาวของคลื่นเฉพาะ “ตัวนี้ข้อดีของเครื่องคือเราสามารถตรวจสอบว่าเรามีความเสี่ยงหรือเปล่าที่จะเป็นโรคกระดูกพรุนก่อนที่จะไปพบแพทย์จริงๆสามารถวัดเองได้ที่บ้านค่าที่ถูกวัดออกมาจะเป็นแถบสเกลที่บอกว่าเราเริ่มมีความเสี่ยงหรือยังหรือว่าเราปกติอยู่ครับถ้าเราเริ่มมีความเสี่ยงอยู่เราก็สามารถพบแพทย์ได้ครับผมและตัวเครื่องนี้ในปัจจุบันการพัฒนาของเราได้เน้นระบบปัญญาประดิษฐ์หรือเอไอเข้ามาช่วย” "สำหรับเอไอของเครื่องมีค่ามาตราฐานของผู้ป่วยในอาเซียนค่าที่วัดได้กับค่าผู้ป่วยในอาเซียนก็จะเทียบกันว่าเราเป็นเคสปกติ หรือเริ่มมีความเสี่ยงซึ่งในการพัฒนาถัดไปทีมวิจัยตั้งเป้าจะทำให้เอไอฉลาดมากยิ่งขึ้นก็คือเวลาเราตรวจสอบครั้งแรกครั้งที่สองก็จะเริ่มคุ้นเคยกับเราว่าปกติแล้วมวลกระดูกเรามีค่ามาตราฐานประมาณนี่นะ”นักวิจัยกล่าว นายณรงค์เดชเผยว่าการพัฒนาเครื่องมือวัดความหนาแน่นกระดูกนี้เกิดจากความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในไทยคือ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและมหาวิทยาลัยต่างชาติคือ มหาวิทยาลัยในญี่ปุ่นที่คานาซาวาซึ่งตอนนี้บริษัทในญี่ปุ่นได้รับเครื่องวัดความหนาแน่นกระดูกนี้ไปพัฒนาต่อและมีบริษัทไทยที่เป็นหุ้นส่วนกับญี่ปุ่นโดยกำลังเริ่มต้นนำมาผลิตในไทยคาดว่าประมาณปีนี้สามารถขายได้รวมถึงขายได้ในราคาที่ถูก ผลงานนี้ได้ร่วมจัดแสดงภายในงานวันนักประดิษฐ์ประจำปี2562นั้นจัดขึ้นระหว่างวันที่2-6กุมภาพันธ์2562ณศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยความร่วมมือระหว่างสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.)ในฐานะเลขานุร่วมการสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติและหน่วยงานในระบบวิจัยและเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยซึ่งมีผลงานประดิษฐ์คิดค้นทั้งในประเทศและนานาชาติมาร่วมจัดแสดงกว่า 1,500ผลงาน Manager online 05.02.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร