Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อย. เผย "ถั่งเช่าสีทอง" เพาะเลี้ยง เป็นเห็ดราคนละชนิดกับเครื่องยาถั่งเช่าแท้ ผู้ป่วยไตควรปรึกษาหมอก่อนกิน  

อย. เผย "เห็ดถั่งเช่าสีทอง" ที่เพาะเลี้ยง มีแค่ส่วนเห็ดราด้านบน และเป็นคนละชนิดกับเครื่องยาถั่งเช่า สรรพคุณออกฤทธิ์ด้อยกว่าของแท้ ยันผู้ป่วยไตกินได้ แต่ต้องปรึกษาแพทย์ ไม่ทิ้งการรักษาหลัก ติดตามค่าการทำงานของไตเสมอ แนะ หากจะใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพร จะต้องใช้ด้วยความเข้าใจ ระมัดระวัง ไม่ควรใช้อย่างพร่ำเพรื่อ และควรปรึกษาแพทย์ เภสัชกร หรือผู้ประกอบวิชาชีพที่มีความรู้ด้านสมุนไพรทั้งก่อนและในระหว่างการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรนั้น ๆ อย่างสม่ำเสมอ วันนี้ (11 ก.พ.) นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กล่าวว่า ปัจจุบันมีผู้บริโภคจำนวนมากที่หันมาใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรในการรักษาโรคหรือดูแลสุขภาพ ซึ่งต้องใช้ด้วยความเข้าใจที่ถูกต้อง เช่น ในกรณี “ถั่งเช่า” หรือที่รู้จักกันในชื่ออื่นๆ เช่น ตงถงเซี่ยเฉ่า หญ้าหนอน หนาวหนอนร้อนหญ้า จัดเป็นเครื่องยาจีนชนิดหนึ่งที่ประกอบขึ้นมาจากส่วนของเห็ดรา Cordyceps sinensis ด้านบนที่งอกขึ้นมาจากส่วนของตัวหนอนของผีเสื้อในสกุล Hepialus armoricanus ด้านล่างที่อยู่ในดิน โดยมากมักใช้เป็น ยาบำรุง หรือเข้าตำรับยากับสมุนไพรอื่นๆ ในกลุ่มของตำรับยาบำรุง มีสารสำคัญ มีฤทธิ์บำรุงปอด (ระบบการหายใจ) จากสารสำคัญของเห็ดรา และมีฤทธิ์บำรุงไต (ระบบทางเดินปัสสาวะ) ทำให้เครื่องยาชนิดนี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก มีราคาสูง และหายาก นพ.ธเรศ กล่าวว่า ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงเฉพาะในส่วนของเห็ดราด้านบนออกมาจำหน่ายในชื่อ “เห็ดถั่งเช่าสีทอง” แต่จะมีแต่เฉพาะส่วนของเห็ดราด้านบนเพียงอย่างเดียว และเป็นเห็ดราคนละชนิดกับเห็ดราที่เกิดเป็นเครื่องยาถั่งเช่า จึงทำให้สรรพคุณในการออกฤทธิ์ด้อยกว่าเครื่องยาถั่งเช่าของแท้ ในกรณีของผู้ป่วยที่เป็นโรคไตสามารถรับประทาน “ถั่งเช่า” เพื่อช่วยบำรุงร่างกาย ช่วยปรับสมดุลการทำงานของระบบทางเดินปัสสาวะให้ดีขึ้น เป็นการใช้ในลักษณะการช่วยเสริมการรักษาหลักให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น จึงห้ามละทิ้งการรักษาหลักโดยแพทย์ผู้รักษา และจะต้องใช้ด้วยความระมัดระวังอยู่ในการดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิดเนื่องจากอาจต้องมีการตรวจติดตามการทำงานของไตอยู่เป็นระยะ "นอกจากนี้ กลุ่มผู้บริโภคทั่วไปที่ใส่ใจสุขภาพ ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรอย่างพร่ำเพรื่อ ควรใช้ด้วยความเข้าใจ จึงควรปรึกษาแพทย์เภสัชกรหรือผู้ประกอบวิชาชีพที่มีความรู้ด้านสมุนไพรทั้งก่อนและในระหว่างการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรนั้นๆอย่างสม่ำเสมอ" เลขาธิการ อย. กล่าว Managr online 11.02.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร