Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยโปแลนด์พัฒนาแผงโซลาร์เซลล์ติดตั้งได้ทุกพื้นผิว  

แผงรับพลังงานแสงอาทิตย์แบบใหม่ที่มีราคาถูกกว่าและสามารถนำไปใช้ได้สะดวกกว่าแผงพลังงานแสงอาทิตย์ทั่วไป ซึ่งเชื่อว่าจะช่วยรองรับการขยายตัวของตลาดพลังงานสะอาดในอนาคตได้เป็นอย่างดี วงการอุตสาหกรรมพลังงานสะอาดต่างเชื่อกันมานานแล้วว่า พลังงานแสดงอาทิตย์จะสามารถก้าวขึ้นมาทดแทนพลังงานจากซากฟอสซิลและถ่านหินได้ในอนาคต แต่ที่ผ่านมา ข้อจำกัดสำคัญของแผงรับพลังงานแสดงอาทิตย์ คือ ความสะดวกและการเคลื่อนย้ายไปยังจุดต่างๆ เพื่อผลิตไฟฟ้า แต่เมื่อเร็วๆ นี้ นักวิทยาศาสตร์ในโปแลนด์ สามารถพัฒนาแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ หรือ โซลาร์เซลล์ ที่ผลิตจากแร่ธาตุที่เรียกว่า เพอร์ออฟสไกท์ (Perovskite) ที่มีความยืดหยุ่นสูง ทำให้สามารถนำไปติดตั้งได้แทบทุกสถานที่ คุณโอลก้า มาลินคีวิซ แห่งบริษัท Saule Technologies กล่าวว่า โซลาร์เซลล์แบบใหม่นี้สามารถติดตั้งบนผนังด้านนอกอาคาร หลังคาบ้าน หลังคารถ เรือใบ เต็นท์ หรือแม้แต่บนอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ต่างๆ นักวิทยาศาสตร์ผู้นี้กล่าวด้วยว่า วัสดุที่ผลิตจากแร่เพอร์ออฟสไกท์กำลังได้รับความนิยมอย่างสูงในหมู่นักวิจัยด้านพลังงานสะอาด เพราะนอกจากจะมีน้ำหนักเบา มีความยืดหยุ่นสูงแล้ว ยังมีราคาถูกและสามารถติดตั้งได้ในเกือบทุกพื้นผิว นอกจากนี้ยังสามารถพิมพ์ออกมาจากเครื่องพิมพ์แบบพิเศษได้ คุณโอลก้า มาลินคีวิซ ระบุว่า แผงโซลาร์แบบใหม่ 1 ตารางเมตร สามารถผลิตไฟฟ้าได้สำหรับใช้ในคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง และหลอดไฟ 1 ดวง เป็นเวลา 24 ชม. และเชื่อว่าจะสามารถพัฒนาให้ผลิตไฟฟ้าได้มากขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคต เวลานี้นักวิทยาศาสตร์กำลังพยายามทำให้แผงรับพลังงานแสงอาทิตย์แบบใหม่นี้ให้มีความแข็งแรงทนทานนานขึ้น รวมทั้งปรับปรุงจุดบกพร่องอื่นๆ โดยจะสามารถนำออกสู่ตลาดได้ภายในปีนี้ Voice of America 13.02.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร