Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ประชากรหลายพันล้านคนเสี่ยงสูญเสียการได้ยิน จากการฟังเพลงเสียงดัง   

หน่วยงานในสหรัฐฯ เตือนว่า ประชากรกว่า 1 พันล้านคนที่มีอายุระหว่าง 12 ถึง 35 ปี เสี่ยงต่อการสูญเสียการได้ยินจากการฟังเพลงเสียงดังด้วยอุปกรณ์ต่างๆ องค์การอนามัยโลกและสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ กำหนดมาตรฐานสากลฉบับใหม่เพื่อให้ผู้ผลิตทำให้โดทรศัพท์สมาร์ทโฟนรวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ปลอดภัยยิ่งขึ้นในการใช้ฟังเพลง การฟังเพลงเป็นความสุขที่สุดอย่างหนึ่งในชีวิตของคนเรา ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพของสหประชาชาติ กล่าวว่า พวกเขาไม่ได้ต้องการจะกีดกันคนหนุ่มสาวที่ชื่นชอบการฟังเพลงโดยใช้หูฟังเป็นประจำ แต่เตือนว่าการฟังเพลงเสียงดังเป็นสิ่งที่ไม่ปลอดภัยและอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อการได้ยินแบบถาวรได้ องค์การอนามัยโลกระบุว่า ยังไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนว่าประชากร 1.1 พันล้านคนมีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาการได้ยิน อย่างไรก็ตาม Shelly Chadha เจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคของ WHO ด้านการป้องกันอาการหูตึงและสูญเสียการได้ยิน กล่าวว่า การศึกษาดังกล่าวมุ่งเน้นไปที่นิสัยการฟังของคนหนุ่มสาวและระดับเสียงที่ฟัง และว่าข้อมูลนี้เป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหาเรื่องการสูญเสียการได้ยิน ความพยายามในการใช้มาตรฐานนี้คือ การช่วยให้ผู้ใช้สามารถตัดสินใจและเลือกวิธีฟังที่ถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็นการฝึกการฟังอย่างปลอดภัยหรือจะเป็นการฟังที่เสี่ยงต่อการสูญเสียการได้ยินและหูอื้อก็ตาม คำแนะนำหลักๆ สำหรับการฟังอย่างปลอดภัยนั้น รวมไปถึงการมีซอฟต์แวร์บนอุปกรณ์เครื่องเสียงส่วนบุคคลที่สามารถวัดระยะเวลาและระดับเสียงที่ใช้ฟังเพลง และยังเรียกร้องให้มีระบบลดระดับเสียงอัตโนมัติบนโทรศัพท์สมาร์ทโฟนและอุปกรณ์อื่นๆ รวมถึงการควบคุมระดับเสียงโดยผู้ปกครองด้วย หน่วยงานต่างๆ ของสหประชาชาติกล่าวว่า พวกเขาหวังว่ารัฐบาลของแต่ละประเทศรวมทั้งบรรดาผู้ผลิตจะนำมาตรฐานที่แนะนำมาใช้ เนื่องจากผู้ที่สูญเสียการได้ยินจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมากในอีกไม่กี่ปีข้างหน้านี้ WHO และ ITU รายงานว่า ประชากร 466 ล้านคนต้องทนทุกข์กับความทุพพลภาพ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในประเทศที่มีรายได้ต่ำและรายได้ปานกลาง คาดการณ์ว่าจำนวนนี้จะเพิ่มขึ้นเป็นมากกว่า 900 ล้านคนภายในปีพ.ศ. 2593 และว่าครึ่งหนึ่งของผู้ที่สูญเสียการได้ยินในทุกๆ กรณีสามารถป้องกันได้โดยการใช้มาตรการทางด้านสาธารณสุข Voice of America 18.02.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร