Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

งานวิจัยชี้ 'แมลง' เริ่มหายไปจากโลก อาจสร้างผลกระทบที่ร้ายแรงตามมา   

ชนิดของแมลงบนโลกเริ่มลดลงเเละจำนวนมากสาบสูญไปจากโลก คงเหลือเฉพาะตัวอย่างที่เก็บรักษาเอาไว้เท่านั้น ผลการวิเคราะห์งานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับประชากรเเมลง 70 ชิ้น ชี้ว่าปัจจัยที่มาจากมนุษย์เป็นต้นเหตุให้ประชากรเเมลงลดลงอย่างรวดเร็วในอัตรา 1 ใน 4 ต่อทุก 10 ปี เเม็กซ์ บาร์เคลย์ แห่งพิพิธภัณฑ์ Natural History Museum ในกรุงลอนดอน กล่าวว่า เพื่อนร่วมงานบางคนของเขาได้เปรียบเทียบการลดลงของประชากรเเมลง กับการเล่นเกม Jenga หรือ เกมตึกถล่ม ที่ผู้เล่นผลัดกันดึงบล็อคไม้ที่ก่อเป็นตึก Jenga ที่ไม่มีทางรู้ล่วงหน้าว่าบล็อกไม้ชิ้นใดที่หากดึงออกเเล้วจะทำให้ตึกถล่ม และเมื่อดึงออกมาเเล้วก็ไม่มีทางใส่กลับคืนได้อีก ดังนั้นก็เหมือนกับการสูญเสียเเมลงชนิดใดชนิดหนึ่งไป ซึ่งสร้างความกังวลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เ พราะเราไม่มีทางรู้ว่าเเมลงสายพันธุ์นั้นๆ มีบทบาทอย่างไรและมีประโยชน์ต่อสัตว์อื่นๆ อย่างไร แมลงถือเป็นกลุ่มสัตว์บนโลกกลุ่มที่ใหญ่ที่สุด เเละมีจำนวนมากกว่าครึ่งหนึ่งของสิ่งมีชีวิตบนโลกที่ค้นพบทั้งหมด เเละแมลงมีความหลากหลายอย่างเหลือเชื่อเเละช่วยรองรับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ บนโลก ผึ้งเเละผีเสื้อช่วยผสมเกสรพืชอาหารของคน ดอกไม้ เเละต้นไม้ และแมลงยังช่วยเลี้ยงสัตว์ขนาดใหญ่กว่าชนิดต่างๆ รวมทั้งมนุษย์ เเมลงยังมีบทบาทสำคัญในการช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์ทุกชนิดตั้งเเต่เศษใบไม้ไปจนถึงซากสัตว์ การล่มสลายของเเมลงเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ตั้งเเต่การจราจรไปจนถึงการเกษตรกรรมขนาดใหญ่ในระดับอุตสาหกรรม ที่ใช้ยาฆ่าเเมลงไปจนถึงมลพิษจากเเสงไฟในเมือง บรรดานักวิทยาศาสตร์กล่าวว่า จำเป็นต้องลุกขึ้นมาหาทางเเก้ปัญหาเพราะผลกระทบที่จะตามมาจะรุนแรงมากต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มาร์ค ไรท์ แห่งกองทุนสัตว์ป่าโลก (World Wildlife Fund) กล่าวว่าแมลงช่วยผสมเกสรพืชอาหารของคนบนโลกปริมาณมาก ดังนั้นหากแมลงหมดไปจากโลก กระบวนการผสมเกสรโดยธรรมชาติก็จะหายไปและจะกระทบต่อคนเรา เขากล่าวว่า มีหลายพื้นที่ทั่วโลกที่เรื่มใช้เเรงคนผสมเกสรพืชซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง ขณะที่แมลงช่วยผสมเกสรพืชตามธรรมชาติโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ แต่ยังมีข้อจำกัดสำคัญอย่างหนึ่ง เพราะการศึกษาเกี่ยวกับเเมลงทั้งหมดมาจากยุโรปเเละอเมริกาเหนือ ทีมนักวิจัยชี้ว่าพวกเขาไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับประชากรเเมลงในประเทศเขตร้อน แต่ในประเทศอุตสาหกรรมเหล่านี้ รายงานคาดการณ์ว่าสายพันธุ์ของเเมลงทุกชนิดอาจสาบสูญไปภายใน 100 ปีข้างหน้า Voice of America 19.02.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร