Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิทย์จีนสร้างมุ้งไนล่อนเงินนาโนอัจริยะ กันฝุ่น 2.5 ปรับแสงมืดสว่างได้  

ไชน่าเดลี รายงาน (14 ก.พ.) นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศจีน ได้สาธิตแผ่นวัสดุโปร่งใสที่มีความยืดหยุ่น สำหรับหน้าต่างรุ่นใหม่ ที่ไม่เพียงแต่กรองหมอกควัน แต่ยังปรับความสว่างของแสงได้ด้วยด้วย รายงานข่าวกล่าวว่า เมื่อเร็ว ๆ นี้นักวิทยาศาสตร์จีนได้พัฒนาหน้าต่างอัจฉริยะโปร่งใสขนาดใหญ่ที่มีความยืดหยุ่น และไม่เพียงแต่สามารถปรับความเข้มของแสงในร่ม แต่ยังสามารถดักจับอนุภาคขนาดเล็ก (PM2.5) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทความเกี่ยวกับนวัตกรรมนี้ได้รับการเผยแพร่โดย iScience ซึ่งเป็นวารสารของ Cell Press อันมีชื่อเสียง มีสำนักงานใหญ่ในรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ อี้ว์ ซุ่หง นักวิทยาศาสตร์วัสดุและทีมของเขา ที่มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เมืองเหอเฝย มณฑลอานฮุย สามารถพัฒนาแผ่นวัสดุโปร่งแสงขนาด 7.5 ตารางเมตร ซึ่งทอด้วยวัสดุเงินนาโนและผ้าไนล่อน จนบรรลุคุณสมบัติใหม่ที่ต้องการ หลิว เจียนเหว่ย รองศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัยและผู้เขียนบทความวิจัย กล่าวว่า “แผ่นมุ้งกรองอากาศสำหรับบานหน้าต่างนี้ คือตาข่ายไนล่อนขนาดเล็ก เคลือบลวดเงิน (Argentum nanowire) ซึ่งเป็นโลหะทรานซิชันสีขาวเงิน มีสมบัติการนำความร้อนและไฟฟ้าได้ดีมาก เราได้รับการผสมตาข่ายไนลอนและ Ag nanowires จนได้คุณสมบัติใหม่” ด้วยสมบัติทางวัสดุนี้ เมื่อส่งผ่านกระแสไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้า 10 วัตต์ จะทำให้วัสดุสามารถดักอนุภาคฝุ่นละเอียด หรือ PM2.5 ได้สูงถึง 99.65% โดยสามารถลดความเข้มข้นจาก 248 เป็น 32.9 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรใน 50 วินาที ขณะเดียวกันยังเคลือบย้อมสารเทอร์โมโครมิก ที่รับกระแสไฟฟ้าปรับความโปร่งแสง ตามปฏิกริยาของเม็ดสีอนุภาคมาโครโมเลกุลที่เกาะติดกับเส้นใยมุ้งไนล่อนเงินได้ด้วย หลิว กล่าวว่า ต้นทุนในการทำแผ่นมุ้งขนาดทดลอง 7.5 ตารางเมตร นี้ มีต้นทุนเพียง 100 หยวน และใช้เวลาผลิตต่อผืนเพียง 20 นาที เชื่อว่ามีความเป็นไปได้มากในการผลิตเชิงอุตสาหกรรมด้วยประสิทธิภาพเดียวกัน รายละเอียดยังระบุถึงการทำความสะอาดที่ง่ายและสะดวกด้วยการถอดมาแช่เอทิลแอลกอฮอล เพียง 20 นาที ทั้งนี้ เอกสารเผยแพร่นวัตกรรมนี้ ปรากฏบนเว็บไซต์ทางการของ iScience เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ในขณะที่ฉบับพิมพ์จะเผยแพร่ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ นี้ Manager online 18.02.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร