Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

“หลอดพลาสติกรีไซเคิลได้ แต่ไม่ได้รีไซเคิล” ไขข้อสงสัย ! ทำไมเราควรงดใช้หลอดพลาสติก  

ประโยชน์ของหลอดพลาสติก หากเทียบกับความร้ายกาจตอนหมดค่า (เราใช้งานหลอดในเวลาไม่ถึง 20 นาที) พอทิ้งเป็นขยะ สุดท้ายจำนวนไม่น้อยหลุดรอดตกลงสู่ทะเล ซึ่งปรากฎหลักฐานที่ชัดเจนแล้วว่า ก่ออันตรายต่อสัตว์ทะเลจริง โดยเฉพาะกับเต่าทะเล หลายคนคงเห็นจากข่าว ที่มีคลิปคนช่วยกันดึงหลอดพลาสติกออกมาจากจมูกเต่า น่าจะเป็นหนึ่งในคลิปวิดีโอที่สร้างแรงกระเพื่อมทางสิ่งแวดล้อมที่สุดคลิปหนึ่ง หลอดพลาสติกความยาวประมาณ 20 เซนติเมตร ถูกดึงออกมาจากจมูกของเต่าที่ลำตัวยาวไม่เกิน 60 เซนติเมตร นั่นแสดงว่าหลอดเสียบเข้าไปถึง 1 ใน 3 ของตัวเต่า ถ้าเป็นมนุษย์หลอดที่ว่าคงเสียบตั้งแต่จมูกไปถึงกระเพาะอาหาร สีหน้าและแววตาที่เจ็บปวดของเต่า สัตว์ที่ไม่ค่อยแสดงอารมณ์ให้เห็น ทำให้ผู้ที่ดูคลิปรู้สึกเวทนาและตั้งคำถามว่า มนุษย์ทำอะไรลงไป หลายแคมเปญทางสิ่งแวดล้อมเกิดขึ้นจากคลิปนั้น เช่น Be Straw Free ที่อเมริกา Straw no More ที่ ออสเตรเลีย รวมไปถึงแบรนด์ดังต่างๆ ที่ประกาศแผนการเลิกใช้หลอดพลาสติก เช่น Starbuck หรือ โรงแรมในเครือ Marriott แต่หลอดพลาสติกก็ไม่มีทีท่าว่าจะลดลงง่ายๆ ตัวเลขจากการคาดการณ์พบว่า น่าจะมีการใช้หลอดพลาสติกทั่วโลกในหลักพันล้านหลอดต่อวัน และทุกหลอดเป็นการใช้เพียงแค่ครั้งเดียว...แล้วทิ้ง คำถามที่ชวนสงสัยคือ ปริมาณหลอดพลาสติกที่เยอะขนาดนั้น ทำไมถึงไม่มีการนำไปรีไซเคิล? สิ่งที่ต้องทำความเข้าใจก่อนสองอย่าง คือ 1. หลอดพลาสติกเกือบทั้งหมดทำมาจากพลาสติกเกรด Polypropylene หรือ PP ซึ่งเป็นพลาสติกเกรดพื้นฐานที่ใช้กันแพร่หลาย มีสัดส่วนการใช้งานมากที่สุดในโลก และมีโรงงานรีไซเคิลจำนวนมาก 2. กระบวนการรีไซเคิลพลาสติกมีสองแบบ 2.1 พลาสติกแบบเป็นชิ้น เช่นขวดพลาสติก จะมีสี่ขั้นตอนคือ แยก - ย่อย - ล้าง - หลอมเม็ด 2.2 พลาสติกแบบเป็นฟิลม์ เช่น ถุงพลาสติก จะมีห้าขั้นตอนคือ แยก - ซักล้าง - ทำให้แห้ง - ย่อย- หลอมเม็ด เพราะฉะนั้นแล้วโดยเนื้อวัสดุ หลอดพลาสติกควรนำกลับไปรีไซเคิลได้ แต่ปัญหานั้นอยู่ที่กระบวนการ หลอดนั้นไม่ใช่พลาสติกแบบเป็นชิ้น ถ้านำหลอดพลาสติกไปเข้าเครื่องย่อยพลาสติก หลอดจะเข้าไปติดในเครื่องย่อยเป็นอุปสรรคในระบบ และหลอดพลาสติกก็ไม่ใช่พลาสติกแบบฟิล์ม ซึ่งไม่สามารถซักล้างได้สะอาด และด้วยรูปทรงทำให้แห้งยาก Manager online 22.02.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร