Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

จ่อจัดอบรม “หมอ-เภสัช” ใช้ “กัญชา” รักษาผู้ป่วยครั้งแรก มี.ค.นี้ ใช้เวลา 2 วัน ประสาน อย.ขึ้นทะเบียนทันที  

กรมการแพทย์ เตรียมหลักสูตรอบรม “หมอ-เภสัชกร” ใช้ “กัญชา” ดูแลผู้ป่วยแล้ว คาด มี.ค.อบรมได้เป็นครั้งแรก เผยอยู่ระหว่างหาวันและสถานที่ ระบุหลักสูตรใช้เวลา 2 วัน ประสาน อย.ตั้งโต๊ะขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพใช้กัญชาดูแลผู้ป่วยหลังอบรมเสร็จ ตั้งเป้าอบรมทุกเดือน นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวถึงการจัดทำหลักสูตรอบรมผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมในการใช้กัญชาทางการแพทย์ ว่าขณะนี้ได้จัดเตรียมหลักสูตรเอาไว้แล้ว คาดว่าจะเริ่มจัดอบรมครั้งแรกได้ในเดือน มี.ค. 2562 โดยอยู่ระหว่างการประมาณการณ์ว่า จะมีผู้มาอบรมมากน้อยแค่ไหน รวมถึงการหาวันและสถานที่ในการอบรม ซึ่งการอบรมครั้งแรกน่าจะเป็นในส่วนกรุงเทพมหานคร (กทม.) หรือนนทบุรี และตั้งเป้าว่าจะมีการจัดอบรมทุกเดือน เนื่องจากคิดว่าในช่วง 3-6 เดือนแรกนี้ คงมีคนต้องการเข้ามาเทรนหรืออบรมพอสมควร ทั้งนี้ ย้ำว่า การอบรมของกรมการแพทย์นั้นจะเป็นในส่วนของแพทย์แผนปัจจุบันและเภสัชกร ไม่รวมกลุ่มแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ และหมอพื้นบ้าน ซึ่งจะเป็นหน้าที่ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกดำเนินการ นพ.สมศักดิ์กล่าวว่า สำหรับหลักสูตรในการอบรมจะใช้เวลาประมาณ 2 วัน โดยหลังจากอบรมเสร็จในวันที่ 2 จะมีการประสานทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ในการมาจัดโต๊ะขึ้นทะเบียนทันทีว่าผ่านการอบรมเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพที่ใช้กัญชาในการดูแลผู้ป่วยได้ ถือเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาอบรม “การอบรมทั้งแพทย์และเภสัชกร เนื่องจากแพทย์ต้องเป็นผู้วินิจฉัยและเริ่มใช้ยา ส่วนเภสัชกรจะเป็นคนช่วยจ่ายยา คุมทะเบียนยา อย่างไรก็ตาม ย้ำว่าการจะใช้ยาจากกัญชาในการดูแลผู้ป่วย จะต้องมีการขึ้นทะเบียนทั้งสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาล แพทย์ที่ทำการรักษา และเภสัชกรที่จะจ่ายยา โดยหลักการคือ คนไข้ปลอดภัย หรือ Do No Harm เป็นประโยชน์คนไข้ ต้องมีหลักฐานได้ประโยชน์หรือน่าจะได้ประโยชน์” นพ.สมศักดิ์กล่าว นพ.สมศักดิ์กล่าวว่า สำหรับการใช้ประโยชน์จากกัญชาจะแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกมีประโยชน์และผลการวิจัยในการรักษาโรคชัดเจน กลุ่มที่ 2 คือ น่าจะได้ประโยชน์ เป็นประสบการณ์ส่วนบุคคล ทั้งแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ป่วย เช่น โรคพาร์กินสัน อัลไซเมอร์ และกลุ่มที่สาม คือ กลุ่มที่จะต้องมีการวิจัย เช่น มะเร็ง ทั้งนี้ แพทย์ที่ผ่านการอบรมจะใช้กัญชาดูแลผู้ป่วยได้ทั้งในกลุ่มแรกและกลุ่มที่สอง แต่การจะใช้กัญชานั้นจะต้องมีการพูดคุยทำความเข้าใจกับผู้ป่วยก่อน อย่างกลุ่มแรก คือ มีหลักฐานการวิจัยยืนยันได้ ผู้ป่วยวางใจได้ ส่วนกลุ่มที่ 2 ก็ต้องสื่อสารให้ผู้ป่วยเข้าใจว่า แค่น่าจะมีประโยชน์ การรักษาก็ต้องดูประสิทธิภาพ ดูผลข้างเคียง และเก็บข้อมูลมากขึ้นกว่ากลุ่มแรก Manager online 24.02.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร