Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เซิร์นวางแผนปฏิบัติการค้นหาอนุภาคที่เกี่ยวพัน “สสารมืด”  

เซิร์นแถลงแผนปฏิบัติการครั้งใหม่เพื่อค้นหา อนุภาคที่เกี่ยวพัน “สสารมืด” และเชื่อว่าเป็นองค์ประกอบของเอกภพประมาณ 27% องค์การวิจัยนิวเคลียร์วิจัยนิวเคลียร์แห่งยุโรปหรือเซิร์น (CERN) แถลงการเดินหน้าปฏิบัติการใหม่ที่ออกแบบมาเพื่อค้นหาอนุภาคที่เบาและมีอันตรกริยาอ่อนๆ ที่มีความเกี่ยวโยงกับสสารมืด นักวิทยาศาสตร์เรียกระบุว่า สสารที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า “สสารสามัญ” ซึ่งมีทั้งดาวฤกษ์ ก๊าซ ฝุ่น และดาวเคราะห์ รวมถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่บนดาวเคราะห์นั้น คิดเป็นเพียง 5% ของเอกภพทั้งหมด แต่สสารมืดและพลังงานมืดนั้นคือจำนวนที่เหลือที่ทั้งหมด และนักวิทยาศาสตร์ก็ยังไม่เคยสังเกตเห็นสสารมืดและพลังงานมืดเหล่านั้นได้โดยตรง สำหรับสสารมืดนั้นไม่สามารถส่องเห็นได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์ แต่รับรู้การมีอยู่ของสสารมืดได้จากการแรงโน้มถ่วงที่ดึงดูดวัตถุอื่นๆ ในอวกาศ ซึ่งเซิร์นปรารถนาที่จะค้นหาสสารบางชนิดที่มีความเชื่อมโยงกับสสารมืด เซิร์นมีเครื่องเร่งอนุภาคขนาดใหญ่ คือเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี (LHC) ซึ่งเป็นอุโมงค์ขดเป็นวงเป็นระยะทางยาว 27 กิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่างชายแดนฝรั่งเศส-สวิตเซอร์แลนด์ ย้อนกลับไปเมื่อปี ค.ศ.2010 เครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีได้เริ่มเร่งโปรตอนพลังงานสูงให้ชนกันที่ความเร็วเข้าใกล้ความเร็วแสง การชนกันเหล่านั้นได้สร้างอนุภาคใหม่ที่ช่วยให้นักฟิสิกส์ได้มุมมองที่ไม่เคยเห็นมาก่อน โดยได้พิจารณากฎธรรมชาติ ด้วยความหวังว่าจะเข้าใจเอกภพได้ดีขึ้น เมื่อปี ค.ศ.2012 เครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีก็ได้พิสูจน์ว่าอนุภาคฮิกก์โบซอน (Higgs Boson) หรือที่ถูกขนานนามว่า “อนุภาคพระเจ้า” มีอยู่จริง ซึ่งเป็นการพิสูจน์ที่ช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ก้าวกระโดดครั้งใหญ่ในการทำความเข้าใจว่าอนุภาคต่างๆ นั้นได้รับมวลมาอย่างไร ทว่า เครื่องตรวจวัดอนุภาคทั้ง 4 สถานีของเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีไม่เหมาะที่จะตรวจจับอนุภาคที่เบาและทำอันตรกริยาอ่อนๆ กับสสารมืดดังกล่าวได้ ซึ่งเซิร์นอธิบายว่าอนุภาคที่สนใจนั้นสามารถเดินทางได้หลายร้อยเมตรโดยไม่ทำอันตรกริยากับวัตถุใดๆ จนกระทั่งแปลงสภาพไปเป็นอนุภาคที่เรารู้จักและตรวจวัดได้อย่างอิเล็กตรอนและโพสิตรอน โดยอนุภาคที่แปลกประหลาดนี้อาจจะหนีรอดการตรวจวัดของสถานีตรวจวัดที่มีอยู่ไปตามท่อลำอนุภาค และไม่ถูกตรวจพบ เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว เซิร์นจึงได้พัฒนาเครื่องมือใหม่ที่ชื่อ “เฟเซอร์” (FASER) ที่สามารถค้นหาอนุภาคได้ด้วยความละเอียดสูงและสามารถที่จะมองเห็นอนุภาคที่ระบุนี้ได้ เซิร์นอธิบายว่า โปรตอนในลำอนุภาคนั้นที่จะเลี้ยวเบนไปตามแม่เหล็กที่อยู่รอบๆ เครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี ขณะที่อนุภาคซึ่งทำอันตรกริยากับวัตถุอื่นต่ำนี้จะเดินทางเป็นเส้นตรงต่อไป ซึ่งเครื่องเฟเซอร์จะสามารถ “มองเห็น” อนุภาคที่ต้องการนี้ และยังมองเห็นผลผลิตจากการสลายตัวของอนุภาคดังกล่าวด้วย การค้นหาอนุภาคตามทฤษฎีที่มีทั้งดาร์กโปรตอน (photon) และนิวทราลิโน (neutralinos) ซึ่งเกี่ยวโยงกับสสารมืดนั้น คาดว่าจะได้เริ่มขึ้นเมื่อเดินเครื่องทดลองระหว่างปี ค.ศ.2021-2023 Manager online 06.03.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร