Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ผลการศึกษาชิ้นใหม่พบคนเราสามารถเรียนภาษาได้ขณะนอนหลับ  

การวิจัยล่าสุดนี้นำโดยแคทธรีน่า แฮงเคอ (Katharina Henke) อาจารย์ที่มหาวิทยาลัยเบิร์น ในสวิสเซอร์เเลนด์ เเละผู้ก่อตั้งศูนย์เพื่อความคิดอ่าน การเรียนรู้ เเละความทรงจำ (Center for Cognition, Learning and Memory) ทีมนักวิจัยทำการทดลองหลายครั้งกับกลุ่มชายหนุ่มเเละหญิงสาวที่พูดภาษาเยอรมัน ในระหว่างการนอนหลับทั่วไป เซลล์ในสมองของคนเราจะสลับไปมาระหว่างการตอบสนองเเละการไม่ตอบสนอง การทดลองของทัมนักวิจัยในสวิสเซอร์เเลนด์นี้มุ่งเน้นที่ช่วงการนอนหลับสนิทที่เรียกว่า "up-states" ซึ่งทีมนักวิจัยบอกว่าเป็นช่วงที่ดีที่สุดการการเรียนรู้ขณะนอนหลับ ทีมนักวิจัยเผ้าสังเกตุผู้เข้าร่วมการทดลองเเต่ละคนในสภาพเเวดล้อมที่ได้รับการควบคุมในห้องทดลอง เเละบันทึกกิจกรรมของสมองขณะที่เปิดเสียงคำศัพท์สองคำให้ฟังขณะนอนหลับสนิท คำศัพท์คำหนึ่งเป็นคำในภาษาเยอรมันที่มีอยู่จริง เเละอีกคำหนึ่งเป็นคำศัพท์ภาษาต่างประเทศที่อุปโลกน์ขึ้น คำศัพท์เเต่ละคำจะเปิดให้อาสาสมัครที่นอนหลับสนิทฟังคำละสี่ครั้ง โดยทุกครั้งจะเปิดสลับกัน ไม่ให้เหมือนเดิม จุดประสงค์คือการสร้างความทรงจำที่ถาวรระหว่างคำศัพท์ภาษาต่างประเทศที่อุปโลกน์ขึ้น กับคำศัพท์ภาษาเยอรมันที่อาสาสมัครรู้จักเเละสามารถระบุได้เมื่อตื่นนอน เเละเมื่ออาสาสมัครตื่นนอน ทีมนักวิจัยให้พวกเขาฟังและดูคำศัพท์ภาษาต่างประเทศที่อุปโลกน์ขึ้นนี้ โดยพวกเขาต้องทดสอบความจำเกี่ยวกับคำศัพท์ที่ได้ฟังขณะนอนหลับ ระหว่างการทดลองส่วนนี้ ทีมนักวิจัยใช้เทคโนโลยีวัดคลื่นสมองเพื่อศึกษากิจกรรมของสมองอาสาสมัครบางคนขณะตอบคำถาม ผลการทดลองพบว่าอาสาสมัครส่วนใหญ่ตอบคำถามเกี่ยวกับคำศัพท์ที่สมองได้เรียนรู้ขณะนอนหลับได้อย่างถูกต้องกว่าที่คาดเอาไว้ แม้เเต่เป็นการตอบด้วยการเดา ทีมนักวิจัยบอกว่า อาสาสมัครจำได้ดีมากที่สุดหากเปิดคำศัพท์ทั้งคู่ให้ฟังในช่วงที่กำลังนอนหลับสนิท ทีมนักวิจัยชี้ว่าจำเป็นต้องมีการศึกษาวิจัยเรื่องนี้เพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนผลการวิจัยครั้งล่าสุด อย่างไรก็ตาม การทดลองดังกล่าวช่วยให้ทีมนักวิจ้ยมีหลักฐานใหม่ที่ชี้ว่าความทรงจำสามารถเกิดขึ้นได้ เเละการเรียนรู้คำศัพท์เกิดขึ้นได้ทั้งในขณะที่เราตื่นอยู่เเละในขณะที่เรานอนหลับ Voice of America 07.03.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร