Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

รู้หรือไม่! PET รีไซเคิล ดีต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร?  

ขวดพลาสติก PET เป็นบรรจุภัณฑ์ที่เข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลสูงสุด เนื่องจากขวดพลาสติก PET สามารถนำกลับมารีไซเคิลได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง และนำมาใช้ประโยชน์ได้ใหม่ในหลายรูปแบบ รวมทั้งมีมูลค่าการรับซื้อสูง แต่ทุกวันนี้ที่ประเทศไทยยังไม่อนุญาตให้ใช้ เพราะยังติดเรื่องกฎหมาย ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 295 พ.ศ. 2548 ข้อ 8 ระบุว่า “ห้ามมิให้ใช้ภาชนะบรรจุที่ทำขึ้นจากพลาสติกที่ใช้แล้วบรรจุอาหาร เว้นแต่ใช้เพื่อบรรจุผลไม้ชนิดที่ไม่รับประทานเปลือก” กฎหมายข้อนี้เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ เพราะเทคโนโลยีในเวลานั้นยังไม่สามารถรับประกันได้ว่าพลาสติกที่นำมารีไซเคิลจะสะอาดเพียงพอนำกลับมาใช้บรรจุภัณฑ์ใหม่หรือไม่ อีกทั้งเป็นหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข ที่จะปกป้องและคุ้มครองสุขอนามัยของคนในประเทศ หากแต่ระยะเวลาที่ล่วงเลยมานานกว่า 14 ปี เทคโนโลยีรีไซเคิลพลาสติกก้าวรุดหน้าไปกว่าเดิมมาก อีกทั้งรัฐบาลประเทศต่างๆ ในโลก ไม่ว่าจะเป็น สวีเดน เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี หรือญี่ปุ่น ต่างก็สนับสนุนนโยบายที่สอดรับกับกระบวนการ 3Rs คือ ลดการใช้ (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่(Recycle) อย่างที่รู้กันดีว่า กระบวนการกำจัดพลาสติกต้องอาศัยเวลาและสิ้นเปลืองทรัพยากรมหาศาล ซึ่งไม่เป็นผลดีในระยะยาวต่อโลกที่นับวันก็ยิ่งทรุดโทรม เมื่อปี 2560 ประเทศไทยผลิตขวดพลาสติกเพ็ทออกสู่ตลาดในประเทศมากกว่า 185,000 ตัน และมีเพียงไม่ถึงครึ่งที่ถูกนำกลับมาสู่กระบวนการรีไซเคิลอย่างเหมาะสม ส่วนขวดพลาสติกที่เหลือเกือบ 1 แสนตัน ต้องถูกนำไปฝังกลบ และบางส่วนก็เล็ดรอดออกสู่ท้องทะเล หลายคนคงไม่รู้ว่าวัสดุ PET เป็นหนึ่งในวัสดุชั้นนำที่มนุษย์นิยมนำมาใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์ ไม่ว่าจะเป็นขวดน้ำดื่ม (ขวด rPET) หรือกล่องในรูปทรงต่างๆ และมีลักษณะใส PET จึงเป็นพลาสติกที่มีคุณค่าต่อมนุษย์ เนื่องจากนำกลับมาผลิตใหม่เป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลายประเภท นอกเหนือจากพรีฟอร์ม (ขวดก่อนเป่าขึ้นรูป) สำหรับฝาพลาสติก HDPE ยังนำมารีไซเคิลได้เช่นกัน ขวดพลาสติก PET ถูกนำมารีไซเคิล ที่เรียกว่า ขวด rPET จะกลายเป็นอะไรได้บ้าง? ขวดพลาสติก PET ที่นำมารีไซเคิลสามารถแปรสภาพไปเป็นใยสังเคราะห์สำหรับผลิตเสื้อผ้า แผ่นกรอง สายรัด บรรจุภัณฑ์ ผ้าบุแต่งเฟอร์นิเจอร์และพรม เพื่อการอุปโภค ส่วนการบริโภคสามารถนำมารีไซเคิลเป็นบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร ซึ่งผู้ผลิตเครื่องดื่มรายใหญ่หลายรายในปัจจุบันใช้ขวดที่ผลิตจากเม็ด PET รีไซเคิล และบางรายใช้เม็ด PET รีไซเคิลสูงถึง 100% ขวดพลาสติกรีไซเคิลช่วยประหยัดพลังงานอย่างไร? ขวดพลาสติกต่างๆ นั้นทำมาจากน้ำมันดิบ ซึ่งเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป การรีไซเคิลขวดพลาสติก 1 ตัน สามารถช่วยประหยัดน้ำมันได้มากถึง 3.8 บาร์เรล (เท่ากับ 159.11 ลิตร) และยังช่วยประหยัดพื้นที่ในการฝังกลบลบขยะได้มากถึง 5.7 ลูกบาศก์เมตร ขยะทุกชิ้นที่จัดการอย่างถูกต้องจะช่วยฟื้นฟูโลกสิ่งแวดล้อมและสังคมให้ยั่งยืน Manager online 03.04.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร