Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ครั้งแรกของโลก! อิสราเอลสร้างหัวใจจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ  

ทีมนักวิทยาศาสตร์อิสราเอล ผลิตหัวใจจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ที่ใช้ชิ้นส่วนเนื้อเยื่อของมนุษย์ในการสร้างหัวใจใหม่ขึ้นมา เพื่อเป็นใบเบิกทางในการรักษาผู้ป่วยที่ต้องการเปลี่ยนถ่ายหัวใจมนุษย์ในอนาคต ความก้าวหน้าทางการแพทย์ครั้งใหม่ ที่ตีพิมพ์ในวารสาร Advanced Science เผยภาพหัวใจขนาด 2.5 เซนติเมตร ขนาดเล็กเท่ากับหัวใจของกระต่าย แต่มีโครงสร้างของหัวใจที่ใกล้เคียงของหัวใจจริงๆทั้งหมด ซึ่งพิมพ์ขึ้นมาจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ อาจารย์ Tal Dvir หัวหน้าทีมนักวิทยาศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย Tel Aviv University แถลงข่าวความสำเร็จเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา อธิบายว่า นี่ถือเป็นความก้าวหน้าทางการแพทย์ครั้งสำคัญ เพราะเป็นหัวใจจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติที่ผลิตจากเซลล์ของมนุษย์ และมีโครงสร้างห้องหัวใจและหลอดเลือดที่ใกล้เคียงกับหัวใจของจริงทั้งหมด อาจารย์ Dvir มองว่า จุดเด่นของหัวใจจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติดวงนี้ คือ หมึกชีวภาพที่มาจากเนื้อเยื่อของคนไข้โดยตรง ซึ่งช่วยลดปัญหาการเข้ากันไม่ได้ของอวัยวะที่ปลูกถ่ายในคนไข้ และร่นเวลาที่คนไข้ต้องรอในการปลูกถ่ายหัวใจในอนาคต ขั้นตอนการผลิตหัวใจจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติแบบนี้ จะเริ่มจากการนำชิ้นส่วนเซลล์เนื้อเยื่อไขมัน หรือ fatty tissue ของคนไข้มาแยกส่วนที่เป็นเซลล์และที่ไม่ใช่เซลล์ เช่น คอลลาเจน เพื่อใช้เป็นหมึกชีวภาพสำหรับขึ้นรูปเป็นหัวใจในเครื่องพิมพ์ 3 มิติ และปรับแต่งเซลล์ให้เป็นสเต็มเซลล์เพื่อพัฒนาเป็นเซลล์หัวใจดวงใหม่ สำหรับหัวใจกระต่าย ขนาด 2.5 เซนติเมตรนั้นใช้เวลาเพียงไม่กี่ชั่วโมงในการพิมพ์ขึ้นมา แต่สำหรับหัวใจมนุษย์ จะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 1 วัน และต้องใช้เซลล์หลายพันล้านเซลล์สำหรับหัวใจเพียง 1 ดวง อย่างไรก็ตาม หัวหน้าทีมนักวิทยาศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย Tel Aviv University อธิบายเพิ่มเติมว่า ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 1 เดือนให้หัวใจได้เติบโตมากพอที่จะเริ่มเต้นเหมือนหัวใจปกติ โดยในขั้นตอนนี้ทีมวิจัยเตรียมทดสอบปลูกถ่ายหัวใจจากเครื่องพิมพ์ 3 มิตินี้ในสัตว์ และคาดว่าจะทดสอบในมนุษย์ได้ในเวลาต่อไป ในขณะที่ตอนนี้ยังไม่เป็นที่ชัดเจนว่า เครื่องพิมพ์ 3 มิตินี้จะสร้างหัวใจเทียมที่ทำงานได้ดีกว่าหัวใจธรรมชาติได้หรือไม่ แต่ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดก็คือ ชิ้นส่วนที่สร้างขึ้นจากเครื่องพิมพ์ 3 มิตินี้ สามารถทดแทนหรือใช้ซ่อมแซมชิ้นส่วนของหัวใจที่เป็นโรคหรือเสียหายได้ ทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย Tel Aviv University ตั้งเป้าไว้ว่า ภายใน 10 ปี โรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่ทันสมัยทั่วโลก จะมีเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ที่สร้างอวัยวะทดแทนให้กับมนุษย์ได้ Voice of America 16.04.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร