Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยอเมริกันประสบความสำเร็จฟื้นฟูสมองหมูที่ตายแล้ว   

ทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเยล เน้นว่า การวิจัยนี้ไม่ได้เป็นการฟื้นฟูความสามารถในการรับรู้ในสมองของหมูที่นำออกมาจากหมูที่ตายเเล้วเเต่อย่างใด เเต่เป็นการทดลองที่ออกเเบบเป็นพิเศษเพื่อหลีกเลี่ยงการฟื้นฟูดังกล่าวซึ่งไม่น่าจะเป็นไปได้ การศึกษานี้ได้ก่อให้เกิดคำถามหลายอย่างเกี่ยวกับจริยธรรมทางการแพทย์ รวมทั้งคำถามหลายคำถามเกี่ยวกับคำจำกัดความของอาการสมองตาย เเละผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตามมาต่อขั้นตอนการปฏิบัติในการบริจาคอวัยวะ มหาวิทยาลัยเยลชี้ว่า ความมุ่งหมายหลักของการวิจัยคือการสร้างความเป็นไปได้ในอนาคตที่จะเอื้อให้นักวิทยาศาสตร์สามารถศึกษาวิเคราะห์สมองทั้งก้อนของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ เเทนที่จะศึกษาสมองโดยจำกัดอยู่เเค่เฉพาะตัวอย่างปริมาณเล็กน้อยของเนื้อเยื่อสมองเท่านั้น การศึกษานี้ได้รับการสนับสนุนโดยสถาบันสุขภาพเเห่งชาติสหรัฐฯ (National Institutes of Health) และผลการทดลองที่ได้ซึ่งจะตีพิมพ์ในวารสาร Nature ตรงข้ามกับแนวคิดเดิมที่ยอมรับกันมานานเกี่ยวกับอาการสมองตาย โดยถือว่าอาการสมองตายคือการที่กิจกรรมของเซลล์ในสมองยุติลงโดยไม่สามารถฟื้นคืนได้ภายในไม่กี่วินาที หรือไม่กี่นาทีหลังจากสมองขาดอ็อกซิเจนหรือขาดเลือดไปหล่อเลี้ยง การทดลองนี้ชี้ถึงการฟื้นคืนอย่างจำกัดของการทำงานในเซลล์สมองของหมู โดยสมองของหมูนี้ได้มาจากโรงฆ่าสัตว์เเห่งหนึ่ง ทีมงานได้ฉีดส่วนผสมพิเศษของสารเคมีชนิดหนึ่งที่ใช้ในการรักษาสภาพของเซลล์เข้าไปในสมองของหมู เเละพบว่าเซลล์สมองของหมูยังทำงานอยู่ได้อีก 4 ชั่วโมงหลังจากที่หมูเสียชีวิตไปแล้ว Nenad Sestan หัวหน้าทีมนักวิจัย กล่าวว่า สมองที่สมบูรณ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่รักษาความสามารถในการฟื้นคืนกิจกรรมในโมเลกุลเเละเซลล์ของสมองได้ในช่วงหลายชั่วโมงหลังจากหยุดทำงานไปเเล้ว ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่วงการแพทย์ไม่คาดคิดกันมาก่อน และที่ห้องทดลองที่มหาวิทยาลัยเยล ทีมนักวิจัยได้พัฒนาระบบที่เรียกว่า BrainEx เพื่อใช้ในการฉีดสารอาหารเทียมเข้าไปในระบบหลอดเลือดที่หล่อเลี้ยงสมองของหมู Zvonimir Vrselja ผู้ช่วยนักวิจัยด้านประสาทสมอง กล่าวว่า สมองของหมูที่ใช้ในการศึกษาไม่ถือว่าเป็นสมองที่มีชีวิต เเต่เป็นสมองที่ยังมีกิจกรรมในเซลล์อยู่เท่านั้น ขณะที่ผลการศึกษานี้ไม่เสนอวิธีบำบัดสมองที่จะเป็นประโยชน์ต่อคนในตอนนี้ เเต่ผลการทดลองก็ได้นำไปสู่เเนวทางการวิจัยเเบบใหม่ ที่ในที่สุดอาจช่วยให้แพทย์ค้นพบวิธีฟื้นคืนการทำงานของสมองของคนที่ล้มป่วยจากอาการเส้นเลือดในสมองตีบตันเเละแตก หรือเพื่อทดสอบวิธีการบำบัดใหม่ๆ ที่ใช้รักษาเซลล์สมองที่เสียหายจากอาการบาดเจ็บ เเต่ในขณะเดียวกัน การทดลองนี้อาจก่อให้เกิดความไม่เเน่ใจรอบใหม่เกี่ยวกับการตัดสินว่าอะไรคือความตาย ซึ่งในขณะนี้จะถือเอาว่าคนเสียชีวิตหากการทำงานทุกอย่างของสมองยุติลงเเละกอบกู้คืนไม่ได้ ซึ่งคำจำกัดความนี้มีผลให้เเพทย์ตัดสินใจตามจรรยาบรรณว่า เมื่อไหร่จึงจะเริ่มยุติการรักษาชีวิตของผู้ป่วย เเล้วหันไปรักษาอวัยวะของผู้ป่วยเเทน Voice of America 22.04.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร