Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อีก 5 ปี คาดซากโซลาร์เซลล์ ทะลุ 5 แสนตัน! กรมโรงงานฯ เร่งแผนตั้งโรงงานกำจัดซาก  

ตามคาดการณ์ของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม อีก 5 ปี ประเทศไทยจะมีจำนวนซากแผงโซลาร์หมดอายุใช้งานมากขึ้นถึง5-6 แสนตัน และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากภาครัฐมีนโยบายซื้อไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์มากถึง10,000เมกะวัตต์ ในร่างแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าฉบับใหม่ ทองชัย ชวลิตพิเชฐ อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม(กรอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวว่า กรมฯเตรียมออกทีโออาร์เพื่อว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษามาศึกษาถึงแนวทางที่เหมาะสมในการกำจัดซากโซลาร์เซลล์ที่คาดว่าจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในอนาคต จากนโยบายของรัฐในการส่งเสริมให้มีการผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ตั้งแต่ในอดีตถึงปัจจุบัน โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน จำนวน 10ล้านบาท ซึ่งคาดว่าจะใช้ระยะเวลาในการศึกษา 1ปี เขากล่าวว่า แผงโซลาร์เซลล์ที่มีคุณภาพ จะมีระยะเวลาในการใช้งานประมาณ20ปี ก็จะหมดอายุการใช้งาน แต่ในกรณีที่แผงโซลาร์เซลล์ที่คุณภาพต่ำ อายุการใช้งานจะสั้นลงเหลือประมาณ 5-10 ปีเท่านั้น ที่ผ่านมาในปี 2560 มีการติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์ทั้งหมดแล้ว ประมาณ 2,400 เมกะวัตต์ และในร่างแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าระยะยาวของประเทศ หรือแผน PDP ยังมีการรับซื้อไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์อีกกว่า 10,000 เมกะวัตต์ ดังนั้น กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงได้หารือร่วมกับกระทรวงพลังงานถึงการเตรียมการศึกษาแนวทางการจัดการซากแผงโซลาเซลล์ที่จะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นโดยไม่ให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาชน ทั้งนี้มีการประเมินเบื้องต้นว่าภายในอีก5ปีข้างหน้า จะมีจำนวนซากโซลาร์เซลล์มากถึง 5-6 แสนตัน ปัจจุบันยังไม่มีการลงทุนสร้างโรงงานกำจัดซากโซลาร์เซลล์โดยเฉพาะ มีแต่เพียงการลงทุนสร้างโรงงานรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์เพียง 1 โรงเท่านั้น ที่ จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นการนำแผงเก่าที่หมดอายุการใช้งานมาเปลี่ยนแผ่นเซลล์เพื่อนำกลับไปใช้ใหม่ ส่วนแผ่นเซลล์ที่หมดอายุก็ใช้วิธีส่งคืนผู้ผลิตต่างประเทศ หรือนำมาบดย่อยซากโซลาเซลล์และฝังกลบในหลุมฝังกลบอุตสาหกรรม (Secure Landfill) อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังมีจำนวนของซากแผงโซลาเซลล์ไม่มากนัก นักลงทุนส่วนใหญ่จึงยังติดตามสถานการณ์การลงทุนอยู่ แต่กรมโรงงานอุตสาหกรรมคาดว่าอีก 5 - 10 ปีข้างหน้าเมื่อมีจำนวนซากแผงโซลาร์เซลล์มากขึ้น ก็จะมีการตั้งโรงงานประเภทนี้มากขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคกลางหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่เป็นพื้นที่ที่มีโรงไฟฟ้าโซลาร์เซลล์หรือการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปอยู่จำนวนมาก Manager online 5 พ.ค.62

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร